Page 111 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 111
๘๔
หลักเกณฑ์ในกำรรังวัดหำกมีกำรคัดค้ำนของรำษฎรในพื้นที่ใดบริเวณที่มีกำรหวงห้ำม จะต้องมีกำร
ด ำเนินกำรให้ได้ข้อยุติเสียก่อน เช่น กำรรังวัดเพื่อออก น.ส.ล. ในพื้นที่หวงห้ำมเพื่อใช้ประโยชน์ในรำชกำรทหำร
พ.ศ. ๒๔๘๑ สำมำรถรังวัดเพื่อออก น.ส.ล.ได้เพียงบำงส่วนเฉพำะพื้นที่ทหำรที่มีกำรใช้ประโยชน์แล้ว
ในส่วนที่เหลือมีกำรคัดค้ำนก็ยังไม่สำมำรถด ำเนินกำรได้ เมื่อกำรรังวัดท ำแผนที่ซึ่งด ำเนินกำรมำตั้งแต่
พ.ศ. ๒๔๗๘ จนถึงปัจจุบันอยู่บนวิธีกำรที่แตกต่ำงกันตำมยุคสมัย กำรรังวัดเพื่อจัดท ำแนวเขตที่ชัดเจน
ไม่ได้รับควำมร่วมมือจำกรำษฎรในพื้นที่ ท ำให้ข้อมูลแนวเขตที่ดินหวงห้ำมประเภทนี้ ซึ่งรำษฎรเห็นว่ำ
ทับซ้อนกับที่ดินท ำกินยังไม่สำมำรถด ำเนินกำรเพื่อใช้ตรวจสอบร่วมกันได้
3.๓.๒ การประกาศหวงห้ามพื้นที่โดยอาศัยอ านาจของ่าายปกครองประเภทที่ดิน
ปาาไม้
กำรประกำศหวงห้ำมพื้นที่โดยอำศัยอ ำนำจของฝ่ำยปกครองประเภทที่ดินป่ำไม้ เป็นไปในรูปแบบ
ประกำศพื้นที่สังเขปโดยประมำณ จนเริ่มมีกำรจัดท ำแผนที่แนบท้ำย โดยกำรประกำศตำมพระรำชบัญญัติ
ว่ำด้วยกำรหวงห้ำมที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 ตำมด้วย
พระรำชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่ำ พ.ศ. ๒๔๘๑ จนถึงกฎหมำยที่ใช้ในปัจจุบันส ำหรับกำรสงวน
หวงห้ำมที่ดินป่ำไม้ประเภทต่ำงๆ ซึ่งกำรด ำเนินกำรรังวัดท ำแผนที่เพื่อจัดท ำแผนที่แนบท้ำยก็ด ำเนินกำร
เช่นเดียวกับกำรหวงห้ำมในข้อ (๒.๑) เมื่อรัฐได้ก ำหนดนโยบำยมุ่งรักษำพื้นที่ป่ำไม้โดยกำรก ำหนดสัดส่วน
เริ่มตั้งแต่ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ประเทศตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ ๑ ส่งผลให้
กำรประกำศพื้นที่ป่ำไม้ในขณะนั้นซึ่งก ำหนดให้มีขั้นตอนต้องท ำกำรรังวัดพื้นที่บริเวณที่จะประกำศให้เป็น
ป่ำสงวนแห่งชำติ อุทยำนแห่งชำติ นั้น เมื่อไม่สำมำรถด ำเนินกำรได้ตำมระยะเวลำที่ก ำหนด จึงได้มีกำร
ปรับเปลี่ยนวิธีกำรใหม่ให้ประกำศก ำหนดพื้นที่โดยใช้ข้อมูลแผนที่ตำมผลกำรจ ำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่
ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติให้เก็บเป็นพื้นที่ป่ำไม้ถำวรก่อน แล้วจึงท ำกำรรังวัดหลังกำรประกำศพื้นที่ กำรด ำเนินกำร
ด้วยวิธีดังกล่ำว เมื่อปรำกฏว่ำแนวเขตตำมผลกำรรังวัดไม่สอดคล้องกับแนวเขตที่ประกำศตำมกฎหมำย
เช่น กำรใช้แผนที่จ ำแนกป่ำไม้ถำวรตำมมติคณะรัฐมนตรีเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒ มำประกำศเป็นเขตป่ำสงวน
แห่งชำติ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ สภำพพื้นที่ย่อมต้องเปลี่ยนแปลงขั้นตอนที่ต้องด ำเนินกำรต่อไป คือ กำรออก
กฎกระทรวงหรือพระรำชกฤษฎีกำ เพื่อเพิกถอนกำรประกำศเดิมที่ไม่ถูกต้องและใช้แนวเขตที่มีกำรรังวัด
ประกำศใหม่ แต่วิธีกำรเช่นว่ำนี้ ยังไม่มีกำรด ำเนินกำรให้ครบถ้วน ส่งผลให้มีแนวเขตที่ใช้ในกำรตรวจสอบ
ตำมอ ำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรที่ดูแล ไม่ใช่แนวเขตที่มีผลตำมกฎหมำย และหำกเป็นกรณีมีกำรรังวัด
ตรวจสอบตลอดเวลำตำมวิธีกำรรังวัด ในขณะที่ด ำเนินกำรโดยไม่มีกำรแก้ไขแผนที่แนบท้ำยให้ถูกต้องตำม
กฎหมำย ส่งผลกระทบทั้งกำรปฏิบัติหน้ำที่ภำยในหน่วยงำนและกำรปฏิบัติหน้ำที่ของหน่วยงำนอื่นที่ต้อง
ใช้แนวเขตป่ำไม้แต่ละแห่ง ส ำหรับกำรปฏิบัติงำนตำมภำรกิจไม่มีควำมแน่นอนและชัดเจนไปด้วย
3.๓.๓ การประกาศก าหนดพื้นที่หวงห้ามทุกประเภท
กำรประกำศก ำหนดพื้นที่หวงห้ำมทุกประเภทนั้น ในอดีตเมื่อยังไม่มีกำรให้สิทธิในกำรถือครอง
ที่ดิน และประชำกรในประเทศยังมีจ ำนวนน้อย กำรประกำศพื้นที่ดังกล่ำวสำมำรถด ำเนินกำรได้ทุกพื้นที่