Page 11 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 11

สรุปส ำหรับผู้บริหำร


                                                    โครงกำรศึกษำวิจัย
                   เรื่อง : แนวทำงกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรก ำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ







                          โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง : แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
                   มีวัตถุประสงค์ (๑) เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดิน และการก าหนดขอบเขต

                   โดยแผนที่แนบท้ายหรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ในการบริหารจัดการที่ดิน  (2)
                   เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนแนวเขตที่ดินของเขตอนุรักษ์กับที่ดินของรัฐ

                   ประเภทอื่นๆ ที่รัฐจัดสรรให้กับประชาชน และ  (3) เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมของ
                   ประชาชน ในการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ รวมทั้ง แนวทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐ

                   กับประชาชน ในการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ

                          งานศึกษาวิจัยนี้ เป็นการศึกษาจากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดินที่ใช้อยู่

                   ในปัจจุบันของหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการที่ดินโดยตรง และขอบเขตก าหนดโดยแผนที่แนบท้าย
                   หรืออื่นๆที่เกี่ยวข้อง ศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขของหน่วยงานเหล่านั้น และศึกษาแนวทาง
                   ในการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนแนวเขตที่ดินของเขตอนุรักษ์กับที่ดินของรัฐประเภทอื่นๆ ที่รัฐจัดสรรให้กับ

                   ประชาชน รวมทั้งศึกษาปัญหาข้อขัดแย้งในสิทธิการถือครองท าประโยชน์ในพื้นที่กรณีศึกษา สาเหตุของ

                   ปัญหาและการแก้ไขปัญหา รวมไปถึงกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยก าหนดพื้นที่
                   กรณีศึกษาตามการร้องเรียนของประชาชนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยให้ครอบคลุม
                   ลักษณะที่ส าคัญ คือ การก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐทับซ้อนกับพื้นที่ที่อยู่อาศัยและพื้นที่ของชุมชน

                   จ านวนมาก การก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐทับซ้อนในพื้นที่เดียวกันหลายหน่วยงาน และพื้นที่ระบบนิเวศ

                   และวิถีชีวิตของชุมชนที่หลากหลายแตกต่างกัน  โดยได้คัดเลือกพื้นที่ใน ๗ จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี
                   นครราชสีมา สกลนคร ล าปาง สุราษฎร์ธานี และพัทลุง

                          ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยท าให้ได้ผลออกมาเพื่อน าไปสู่การปฏิบัติ ในด้านการป้องกัน

                   การละเมิดสิทธิของประชาชนและชุมชน และให้หน่วยงานของรัฐเห็นความส าคัญต่อสิทธิของประชาชน
                   ในการก าหนดแนวเขตและการแก้ไขปัญหาพื้นที่ทับซ้อนแนวเขตที่ดินของรัฐเขตอนุรักษ์ ที่ดินรัฐประเภท

                   อื่นๆ และที่ดินของชุมชนและประชาชน ท าให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาพื้นที่
                   ทับซ้อนและการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ ทั้งได้แนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา การก าหนด

                   แนวเขตที่ดินของรัฐโดยไม่มีความขัดแย้งกับประชาชน และสามารถวางแนวทางการด าเนินงานในอนาคต
                   ได้อย่างเป็นรูปธรรม สามารถน าไปใช้เป็นพื้นที่ตัวอย่างในการรณรงค์ให้เกิดการแก้ไขปัญหาพื้นที่ทับซ้อน

                   ในเชิงนโยบายต่อไป รวมไปถึงได้แนวทางและวิธีการรณรงค์ผลักดันให้สิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
                   ในการจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดินของประชาชนเป็นจริงในเชิงปฏิบัติ และสิทธิชุมชนและการมีส่วนร่วม

                   ของประชาชน ท าให้สามารถคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ที่เกิด
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16