Page 62 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 62
3.3.2 วิธีการในการให้การศึกษาด้านสิทธิมนุษยชน
เพื่อให้การด�าเนินการที่ก�าหนดไว้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรก�าหนดขึ้นตอนในการด�าเนินการ ดังนี้
• ระบุเป้าหมายผู้เรียน ควรมีการวางแผนให้สอดคล้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนในแผนหลักขององค์กร
• ก�าหนดหลักสูตร โดยเนื้อหาจะต้องปรับแต่งให้เข้ากับผู้เรียนเสมอ
• สรรหาผู้สอน โดยควรเลือกผู้ที่มีประสบการณ์ในงานที่ด�าเนินการและมีเทคนิคการสอนส�าหรับผู้ใหญ่ ตามแนวทาง
วิชาการที่ก�าหนดไว้
• จัดกระบวนการให้สามารถใช้ประโยชน์จากการสอนได้มากที่สุด ผ่านการสร้างกระบวนการให้เกิดการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่อง แม้จะจบสิ้นหลักสูตรแล้ว เช่น การสร้างกลุ่มเพื่อนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการน�าบทเรียนไปใช้
หรือการให้หนังสือหรือเครื่องมือที่สามารถไปศึกษาต่อได้เอง
• ประเมินผลการพัฒนา/การสอน โดยอย่างน้อยมีการทดสอบก่อนและหลังการสอน (pre-course and post-course
evaluation exercises)
มีปฏิสัมพันธ์: มีความยืดหยุ่น:
เนื่องจากบุคคลจะเรียนรู้ได้ดีผ่านการมีส่วนร่วมใน ผู้น�าการอบรมต้องช่วยและส่งเสริมการมีส่วนร่วม
กระบวนการและขั้นตอนต่าง ๆ ดังนั้นผู้เข้ารับ ในกิจกรรมต่าง ๆ โดยไม่เข้มงวดเรื่องเวลา หรือ
การฝึกอบรมควรมีโอกาสปฏิสัมพันธ์และ ขัดจังหวะผู้เข้ารับการฝึกอบรมในระหว่าง
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน การฝึกอบรม การเรียนรู้
ด้านสิทธิมนุษยชน
ควรมีองค์ประกอบที่ส�าคัญ
มีการเชื่อมโยง: ดังนี้ มีความหลากหลาย:
การฝึกอบรมควรสัมพันธ์กับ การมีวิธีการในการฝึกอบรมที่หลากหลาย
ประสบการณ์ในแต่ละวัยของผู้เข้ารับ จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสนใจและมี
การอบรม โดยเฉพาะในการฝึกกลุ่มวิชาชีพ แรงจูงใจการเรียนอย่างสม�่าเสมอ
ทั้งนี้ การส่งเสริมความรู้และการศึกษาจะต้องท�าคู่ขนานกันไปอย่างต่อเนื่องและสมดุล โดยเฉพาะในเรื่องการให้การ
ศึกษาที่จะปลูกฝังให้เด็ก ๆ มีจิตส�านึกด้านสิทธิมนุษยชน อันจะท�าให้เติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ที่เข้าใจและตระหนักถึงหลักการ
ในเรื่องนี้อย่างเหมาะสม
61
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ