Page 45 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 45
2.2.1 หน้าที่และบทบาทในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (Protecting Function) และการท�างานกึ่งตุลาการ
(Quasi-Judicial Function)
เมื่อมีการก�าหนดให้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรับพิจารณาและแก้ไขปัญหาการร้องเรียนที่มีลักษณะเป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชน ควรที่จะมีการระบุหน้าที่ที่จ�าเป็นและอ�านาจที่สามารถจะบรรลุตามข้อบัญญัติดังกล่าว โดยอาจหมายรวมถึง
ความสามารถในการรับข้อร้องเรียนต่อทั้งภาครัฐ
และหน่วยงานเอกชน ในการพิจารณาการละเมิด
ความสามารถในการรับข้อร้องเรียนที่ยื่น สิทธิมนุษยชน
โดยกลุ่มบุคคลในนามของผู้ร้องเรียน
ความสามารถในการหยิบยกประเด็นหรือ
ความสามารถในการตรวจสอบข้อร้องเรียน สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นพิจารณาเอง
รวมถึงอ�านาจในการเรียกหลักฐานและ
พยาน และสิทธิในการเข้าไปในสถานที่ที่มี ความสามารถในการปกป้องผู้ร้องเรียน
การละเมิดสิทธิมนุษยชน
ความสามารถในการปกป้องพยานได้ ความสามารถในการแสวงหาข้อตกลงที่น่าเชื่อถือ
เพื่อให้มาซึ่งหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ และปรองดองในกระบวนการไกล่เกลี่ยหรือ
ข้อร้องเรียน
แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งที่รุนแรง
ความสามารถในการจัดการข้อร้องเรียน
ผ่านการตัดสินใจของตน ความสามารถในการอ้างถึงผลการวิจัย/วินิจฉัย
ของศาลยุติธรรมหรือศาลเฉพาะด้านอื่น ๆ เพื่อ
ความสามารถในการติดตามและ การพิจารณา
ตรวจสอบการด�าเนินงานของ
การตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาของ ความสามารถในการน�าเสนอข้อเท็จจริงต่อ
ข้อร้องเรียน รัฐบาลในสถานการณ์ที่ข้อร้องเรียนนั้น ๆ มี
หลักฐานอย่างกว้างขวางหรือเป็นการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนอย่างเป็นระบบ
44
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ