Page 50 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 50
ทั้งนี้ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรสนับสนุนและส่งเสริมรัฐบาลให้รับตราสารด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
มาใช้ปฏิบัติ โดยไม่มีข้อสงวนใด ๆ เพื่อให้ระบบสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศมีประสิทธิผล สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ควรมีหน้าที่ดังนี้
การเสนอรายงานคู่ขนานหรือรายงานเงา
(Parallel or Shadow Report) เพื่อจัดท�า
รายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของ ช่วยเหลือ สนับสนุน และมีส่วนร่วม เมื่อมี
ประเทศ (Universal Periodic Review) ส่งไป ผู้เชี่ยวชาญจากองค์การสหประชาชาติมาเยือน
ยังหน่วยงานหรือคณะกรรมการระหว่างประเทศ ประเทศ รวมถึงการรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ที่เกี่ยวข้อง ตามพันธกรณีระหว่างประเทศ และข้อเท็จจริง
ที่พบในการท�างานและกระบวนการสอบสวน
ก�ากับดูแลและส่งเสริมการด�าเนินการตาม
ข้อแนะน�าของสหประชาชาติที่เกี่ยวข้องด้าน ประสานงานกับส�านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิ
สิทธิมนุษยชน มนุษยชนของสหประชาชาติ (Office of the UN
High Commissioner for Human Rights - OHCHR)
โดยเฉพาะความช่วยเหลือในเชิงเทคนิคเกี่ยวกับสิทธิ
สร้างสัมพันธ์กับตัวแทนคณะกรรมการย่อย มนุษยชน และการอ�านวยความสะดวกในการสร้าง
ระดับภูมิภาคของแต่ละภูมิภาค และคณะกรรมการ ความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในระดับสากล
ประสานงานระดับภูมิภาค ได้แก่ เครือข่ายสถาบัน กับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอื่น ๆ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในแอฟริกา (African Network
of NHRIs) เครือข่ายสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติใน
ทวีปอเมริกา (Network of NHRIs of the Americas)
เครือข่ายสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในที่ประชุม
เอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Forum of NHRIs) และ ทั้งนี้ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรรักษาสมดุล
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในประเทศกลุ่มทวีป (balance) ของการปฏิบัติหน้าที่หลักทั้ง 5 ด้านอย่าง
ยุโรป (European Group of NHRIs) เหมาะสม ตามทรัพยากรที่จ�ากัด และล�าดับความส�าคัญ
ตามยุทธศาสตร์และสถานการณ์ของประเทศ โดยบท
ถัดไปจะเป็นการแสดงรายละเอียดมาตรฐานและ
แนวทางในการส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจในสิทธิ
มนุษยชนและในการบริหารจัดการคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนตามหลักการปารีส
49
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ