Page 44 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 44

ค      โครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล

                           สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรได้รับอ�านาจทางกฎหมายที่จะก�าหนดโครงสร้างองค์กร การก�าหนดทักษะ/
                        สมรรถนะที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุข้อบัญญัติของสถาบัน ฯ การก�าหนดกฎเกณฑ์อื่น ๆ ที่เหมาะสม
                        (เช่น เรื่องความหลากหลาย การตรวจสอบประวัติอย่างอิสระ และการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสม) ทั้งนี้ ควรคัดเลือก

                        เจ้าหน้าที่ตามกระบวนการที่ตั้งอยู่บนระบบคุณธรรม (merit system) อย่างโปร่งใส เพื่อสร้างความมั่นใจว่าเจ้าหน้าที่
                        มีความสามารถที่จะด�าเนินการให้บรรลุตามข้อบัญญัติของสถาบัน ฯ นอกจากนั้น กระบวนการดังกล่าวยังส่งเสริม

                        ความเป็นอิสระ ประสิทธิภาพ และความเชื่อมั่นของสาธารณะต่อสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                           สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ประสบความส�าเร็จต้องมีกระบวนการบริหารจัดการภายในอย่างน้อย ดังนี้
                           1.  อัตราก�าลังที่เหมาะสม โดย
                               1.1 ต�าแหน่งในระดับบริหารหรือระดับอาวุโส (senior level posts) ไม่ควรจ้างในต�าแหน่งชั่วคราว

                               1.2 กลุ่มเจ้าหน้าที่ชั่วคราวไม่ควรมีเกิน 25% เว้นแต่ในกรณีทีมีเหตุการณ์เฉพาะหรือเหตุการณ์ที่มี
                               ความต่อเนื่อง

                           2.  กระบวนการในการท�างาน อย่างน้อยจ�าเป็นต้องมีสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ครบถ้วน อันได้แก่
                           หน้าที่รับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน หน้าที่รับผิดชอบของต�าแหน่งงาน คุณสมบัติ
                           ที่ต้องการของแต่ละต�าแหน่งงาน แนวทางในการคัดเลือกและสรรหา

                           แนวทางการฝึกอบรม และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน
                           3.  มีการติดตามและประเมินผลที่ชัดเจนตามมาตรฐานที่ก�าหนดไว้







                       2.2    อ�านาจ

                              ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่สอดคล้องกับหลักการปารีส

                             หลักการปารีสได้ก�าหนดมาตรฐานบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอย่างน้อย 5 งานส�าคัญ

                             ที่จ�าเป็นต้องจัดความส�าคัญในการด�าเนินการดังนี้



                                                           บทบาทของสถาบัน
                                                         สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                                            การให้ค�าปรึกษา              การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
                                           ด้านสิทธิมนุษยชน             (Promotional Function)
                                          (Advisory Function)
                             การคุ้มครอง                                                    การท�างานร่วมกับ
                             สิทธิมนุษยชน                     การเฝ้าระวัง                ผู้มีส่วนได้เสียและองค์กร
                         (Protecting Function)           สถานการณ์สิทธิมนุษยชน           อื่น ๆ ทั้งในและต่างประเทศ
                        และการท�างานกึ่งตุลาการ          (Monitoring Function)             (Relationship with
                       (Quasi-Judicial Function)                                     Stakeholders and Other Bodies)





                                                                                                                 43
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49