Page 39 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 39
2.1.3 องค์กรประกอบ การแต่งตั้ง และระยะเวลาด�ารงต�าแหน่ง
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องแสดงให้เห็นถึงความหลากหลายของสมาชิก อันจะช่วยให้สถาบันฯ สามารถเข้าถึง
ประชาชนได้ดียิ่งขึ้น ความหลากหลายในที่นี้ หมายถึง ผู้แทนจากภาคส่วนในสังคมที่หลากหลาย โดยรวมถึงในบริบทเรื่องเพศ
เชื้อชาติ หรือสถานะของชนกลุ่มน้อย และสิทธิสตรีที่จะเข้าท�างานในสถาบันฯ
ทั้งนี้ ควรมีการก�าหนดองค์ประกอบของสมาชิกที่หลากหลายตามที่ก�าหนดไว้ในหลักการปารีส ตัวอย่างดังต่อไปนี้
สมาชิกที่มีอ�านาจตัดสินใจ (ซึ่งอาจหมายรวมถึงคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในกรณี
ก�าหนดรูปแบบองค์กรแบบคณะกรรมการ หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน ในกรณีเป็นรูปแบบองค์กรแบบ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน) ต้องมีความหลากหลาย และมาจากหลายภาคส่วนในสังคม ตามหลักการปารีส
ทั้งนี้ เกณฑ์ส�าหรับการคัดเลือกสมาชิกที่มีอ�านาจตัดสินใจควรระบุไว้ในกฎหมาย และอยู่ภายใต้
การปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด รวมถึงประชาสังคมด้วย อย่างไรก็ดี ควรหลีกเลี่ยงการก�าหนด
เกณฑ์ที่มีขอบเขตที่แคบเกินควร และสร้างข้อจ�ากัดในองค์ประกอบของความแตกต่างและความ
หลากหลายของสมาชิกในสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
สมาชิกที่หลากหลาย
เหล่านี้ต้องผ่านขั้นตอน
การพิจารณาของรัฐสภา
สมาชิกที่หลากหลายเหล่านี้อาจเกิดจากการผ่าน กลุ่มที่หลากหลายหรือเจ้าหน้าที่ในองค์กรที่เป็น
ขั้นตอนการลงความเห็นอย่างมีประสิทธิภาพกับกลุ่ม ตัวแทนของกลุ่มหลากหลายในสังคม โดยเฉพาะ
ทางสังคมที่หลากหลาย เช่น คณะกรรมการที่ปรึกษา หากสถาบันสิทธิมนุษยชนมีองค์กรในรูปแบบ
เครือข่ายภาคสังคมต่าง ๆ ฯลฯ “ผู้ตรวจการแผ่นดิน”
38
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ