Page 118 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 118
7.1.2 หลักการที่ใช้กับรัฐสภา
ตามหลักอาบูจา ในปี ค.ศ. 2004 (The Abuja Guidelines on the Relationship between Parliaments,
Parliamentarians and Commonwealth National Human Rights Institutions) และหลักการเบลเกรด
(Belgrade Principles on the Relationship between National Human Rights Institutions and Parliaments)
ค.ศ. 2012 ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับรัฐสภา โดยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ควรจะ
แนะน�าสมาชิกรัฐสภาเกี่ยวกับหลักสิทธิ
มนุษยชนทั้งหมด เพื่อประกอบการเสนอ
เสนอแผนยุทธศาสตร์หรือแผนโครงการ
ประจ�าปีเพื่อประกอบการพิจารณา กฎหมายใหม่ หรือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ หรือ
งบประมาณที่เป็นไปอย่างอิสระ การแก้ไขกฎหมายหลัก (founding laws)
ให้ค�าแนะน�าที่เป็นอิสระและเชี่ยวชาญแก่
สมาชิกรัฐสภาในประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน
เสนอรายงานประจ�าปี พร้อมกับผลการ
ด�าเนินการและสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ในประเทศ หรือในระดับภูมิภาค หรือใน
ของประเทศ รวมถึงข้อเสนออื่น ๆ ที่ ระดับสากล
เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ ให้การสนับสนุนและค�าแนะน�าในการ
มนุษยชน เพื่อประกอบการพิจารณาของ ด�าเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
รัฐสภาและสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่รัฐตกลงไว้
ด�าเนินการตามข้อเสนอดังกล่าวตาม
ความเหมาะสม
ให้การฝึกอบรม เผยแพร่และพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องแก่สมาชิกรัฐสภาเกี่ยวกับสิทธิ
มนุษยชน
7.1.3 ข้อแนะน�าต่อรัฐสภา
ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 6 สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีความส�าคัญและเป็นประโยชน์แก่รัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เมื่อต้องการที่จะเปลี่ยนกฎหมาย นโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติ ดังนั้น สถาบันฯ จึงควรมีการพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกับ
รัฐสภา องค์กรรัฐสภา และสมาชิกรัฐสภา เพื่อเปิดโอกาสในการโน้มน้าวถึงการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงนโยบายและการ
ตัดสินใจในแผนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การน�าเสนอผลการวิเคราะห์ด้านสิทธิมนุษยชนจะเป็นกลไกหนึ่งในการสร้างความ
เข้าใจและสร้างความมั่นใจว่า ปัญหาสิทธิมนุษยชนจะได้รับการรับฟัง และเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจของรัฐสภา
117
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ