Page 110 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 2 ระหว่าง มกราคม - มิถุนายน 2558
P. 110
108 ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เล่ม ๒ ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๘
ข้อกังวลต่อการเข้าเป็นภาคี เหตุผลสนับสนุนการเข้าเป็นภาคี
หากเข้าเป็นภาคีแล้ว ข้าราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งทหาร การนำาหลักการของอนุสัญญาทั้งสองฉบับไปใช้บังคับกับ
และตำารวจจะรวมตัวกัน และนัดหยุดงาน ทำาให้ส่งผลต่อ กองกำาลังทหารและตำารวจ นั้น อนุสัญญาดังกล่าวกำาหนด
การปกครอง อาจเป็นอันตรายต่อความมั่นคง ให้เป็นไปตามข้อกำาหนดของกฎหมายของประเทศ ซึ่งอาจ
จำากัดสิทธิการรวมตัวและนัดหยุดงานได้ แต่ก็ควรจัดให้มี
กลไกเป็นคณะกรรมการพิจารณาข้อร้องเรียนสำาหรับ
คนทำางานที่เป็นกองกำาลังทหารและตำารวจ
หากเข้าเป็นภาคีแล้ว ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ สิทธิในการนัดหยุดงานสามารถจำากัดได้หากเป็นกรณีที่ใช้
มีสิทธิที่จะรวมตัวและนัดหยุดงาน อาจส่งผลต่อ อำานาจในนามของรัฐ เช่น ข้าราชการระดับสูง หรือเป็น
การจัดบริการสาธารณะได้ บริการสาธารณะที่จำาเป็นยิ่ง (Essential Service) ที่เป็น
อันตรายต่อชีวิต ความปลอดภัย สุขภาพของประชาชน หรือ
กรณีเกิดวิกฤติระดับชาติหรือระดับท้องถิ่น แต่ต้องเป็นช่วง
ระยะเวลาที่จำากัดหากจะจำากัดสิทธินี้
การเข้าเป็นภาคีจะทำาให้แรงงานข้ามชาติสามารถรวมตัวกัน สิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรองของคนทำางาน
ได้และจะนำาไปสู่ปัญหาความมั่นคงประเทศ รวมถึงแรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองผิดกฎหมายสามารถจำากัด
ได้ โดยกำาหนดเป็นกฎหมาย โดยคำานึงถึงหลักการได้สัดส่วน
ของสิทธิดังกล่าว ความสงบเรียบร้อยของสังคม และ
หลักการประชาธิปไตย อีกทั้ง การเปิดโอกาสให้แรงงาน
ข้ามชาติเข้าเมืองโดยไม่ถูกกฎหมายมีสิทธิในการรวมตัวนั้น
จะช่วยให้มีการตรวจสอบและควบคุมแรงงานกลุ่มนี้
ได้อย่างเป็นระบบมากกว่าเดิม
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าว จะเป็นภาระของรัฐบาล กฎหมายไทยยังให้ความคุ้มครองสิทธิของคนทำางานในการ
และหน่วยงานของรัฐที่มีอำานาจหน้าที่ในการเขียนรายงาน สมาคมรวมตัวและเจรจาต่อรองที่จำากัดและเปิดโอกาสให้
และถูกตรวจสอบจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ คนทำางานที่รวมตัวกันนัดหยุดงานถูกเลิกจ้างได้ และแม้จะ
ไม่ได้ให้สัตยาบันรัฐบาลก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงที่จะต้องส่ง
รายงานว่าด้วยสิทธิของแรงงานไปยังคณะกรรมการภายใต้
ILO และในกรณีที่มีการละเมิดรัฐบาลก็สามารถถูกร้องเรียน
ต่อคณะกรรมการเสรีภาพในการสมาคมได้
หากเข้าเป็นภาคีแล้วจะทำาให้มีการจัดตั้งสหภาพขนาดเล็ก จากประสบการณ์ในประเทศที่ได้ให้สัตยาบันอนุสัญญา
ขึ้นมาจำานวนมาก และจะทำาให้การนัดหยุดงานขยายตัว สองฉบับนี้แล้วไม่พบว่า เกิดการจัดตั้งสหภาพขนาดเล็ก
จำานวนมากอย่างที่กังวลกัน ตรงกันข้ามกลับเกิดการรวมตัว
เป็นสหภาพแรงงานขนาดใหญ่ที่มีจำานวนน้อยลง และพบว่า
การนัดหยุดงานได้ลดน้อยลงไปด้วย เพราะคนทำางาน
กับฝ่ายนายจ้างมีช่องทางในการพูดคุยกัน
อย่างเป็นเหตุเป็นผลกันมากขึ้น ๒๙
๒๙ ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา. (๒๕๕๓). อนุสัญญ� ILO ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ : ทำ�ไมต้องให้สัตย�บัน? หน้า ๒๘.