Page 201 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 201

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         ผูมีอํานาจ หนาที่ สิทธิ  ดูแล รักษา คุมครอง ปองกัน ที่สาธารณประโยชน

                         1.  ประชาชนชาวไทย ดูแล รักษา คุมครอง ปองกัน ที่สาธารณประโยชนในฐานทรัพยากรธรรมชาติ
                ที่ทุกคนใชประโยชนรวมกัน ตามมาตรา 5, 26-30, 56-60 และ 62, 66 และ 67 ประกอบมาตรา 6 รัฐธรรมนูญ

                                                  5
                แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
                         2.  ชุมชน ชุมชนทองถิ่น ชุมชนทองถิ่นดั้งเดิม ดูแล รักษา คุมครอง ปองกัน ที่สาธารณประโยชน

                ในฐานทรัพยากรธรรมชาติที่ทุกคนใชประโยชนรวมกัน ตามมาตรา 66, 67 ประกอบมาตรา 6 และมาตรา 27
                รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

                         3.  ผูวาราชการจังหวัด อาศัยอํานาจตามมาตรา 9 ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 และคําสั่ง
                กระทรวงมหาดไทยที่ 109/2538 ลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2538 เรื่อง แตงตั้งใหผูวาราชการจังหวัดเปนพนักงาน

                เจาหนาที่ตามมาตรา 9 แหงประมวลกฎหมายที่ดินฯ

































                       5 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
                       มาตรา 56 บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ
                รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่นเวนแตการเปดเผยขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน
                หรือสวนไดเสียอันพึงไดรับความคุมครองของบุคคลอื่น หรือเปนขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
                       มาตรา 57 บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผลจากหนวยราชการหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ
                สวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัยคุณภาพชีวิต
                หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปประกอบ
                การพิจารณาในเรื่องดังกลาว
                       การวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม การเวนคืนอสังหาริมทรัพย การวางผังเมือง การกําหนดเขตการใช
                ประโยชนในที่ดิน และการออกกฎที่อาจมีผลกระทบตอสวนไดเสียสําคัญของประชาชน ใหรัฐจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็น
                ของประชาชนอยางทั่วถึงกอนดําเนินการ






         180     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206