Page 198 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 198

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               5.2 แนวคิดและการปฏิบัติในการสงวนหวงหามที่ดินสาธารณประโยชน

                        รัฐไทยเริ่มระบอบการปกครองดวยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มีพระมหากษัตริยเปนประมุข
               มนุษยอยูในฐานะราษฎรหรือผูถูกปกครอง ทรัพยสินบนแผนดินทั้งหมดถือเปนของพระมหากษัตริย วิธีการทําให

               ที่ดินเปนที่สาธารณประโยชนเปนของพระมหากษัตริยดวยการกําหนดพื้นที่สงวนหวงหาม อํานาจการสงวนหวงหาม
               พื้นที่การใชประโยชนรวมกันตกเปนของพระมหากษัตริยและผูที่ไดรับมอบพระราชอํานาจกระทําการแทน

               เชน ขาหลวงประจําจังหวัด มณฑล เปนตน
                        พุทธศักราช 2457 รัฐไทยตราและบังคับใชพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พุทธศักราช 2457

               บัญญัติใหสอดคลองกับระบบการบริหารราชการแผนดิน อํานาจการสงวนหวงหามที่ดินสําหรับประชาชนใชประโยชน
               รวมกันเปนของผูวาราชการจังหวัดหรือนายอําเภอ โดยออกเปนประกาศกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง

                        ปพุทธศักราช 2478 หลังคณะราษฎรเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
               เปนระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข บริหารราชการแผนดินภายใต

               อํานาจรัฐบาลผสม ตราและบังคับใชพระราชบัญญัติวาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลา  อันเปนสาธารณสมบัติ
               ของแผนดิน พ.ศ. 2478 มีผลใหการสงวนหวงหามโดยผูมีอํานาจ ตั้งแตวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2479 ตองออกเปน

               พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตสงวนหวงหามและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                        กระทั่งปพุทธศักราช 2497 รัฐไทยชําระ รวบรวม และประมวล กฎหมายที่ดินทั้งหมดเพื่องาย

               ตอการบังคับใชและบริหารจัดการที่ดินภายในประเทศ ตราและบังคับใชเปนประมวลกฎหมายที่ดิน เมื่อวันที่
               1 ธันวาคม พ.ศ. 2497 การสงวนหวงหามโดยผูมีอํานาจ ตองกระทําโดยมติคณะกรรมการ จัดที่ดินแหงชาติ

               และประกาศสงวนหวงหามในราชกิจจานุเบกษา
                        ฉะนั้น การสงวนหวงหามที่สาธารณประโยชนจึงเริ่มจากความตกลงปลงใจของมนุษย อํานาจของ

               พระมหากษัตริยและสามชวงเวลาแหงการตรากฎหมายบัญญัติอํานาจการสงวนหวงหาม 1. ประกาศกระทรวง
               มหาดไทย กรมการปกครอง ตามอํานาจเห็นควรของนายอําเภอทองที่หรือขาหลวงประจําจังหวัด กอนวันที่

               8 เมษายน พ.ศ. 2479 2. พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตสงวนหวงหามและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
               เมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัติวาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน

               พ.ศ. 2478 วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2479 และ 3. มติคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติและประกาศสงวนหวงหาม
               ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อบังคับใชประมวลกฎหมายที่ดิน 1 ธันวาคม พ.ศ. 2497

                        หลักฐานการสงวนหวงหามเริ่มจากบัญชีการสงวนหวงหาม ทะเบียนสํารวจที่หวงหาม ประกาศกระทรวง
               มหาดไทย พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตหวงหาม มติคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ และประกาศราชกิจจานุเบกษา

               ปจจุบันจัดระเบียบทะเบียนที่สาธารณประโยชนดวยการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงเพื่อเปนหลักฐาน
               ใหแกทบวงการเมืองผูมีอํานาจหนาที่ดูแลรักษาที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน เพื่อแสดงขอบเขตของที่ดิน

               อันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินและคุมครองปองกันการบุกรุก และเพื่อประโยชนทางนโยบายในการจัดทํา
               ทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน โดยนายอําเภอรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการจัดทําทะเบียน

               ที่ดินสาธารณประโยชน (การออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง) ตามแบบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดเสนอ




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  177
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203