Page 139 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 139

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2546 อนุมัติใหองคการสวนยางไดรับอนุญาต
                ใหเขาทําประโยชนในพื้นที่สวนยางของเกษตรกรในเขตปาสงวนแหงชาติ หรือปาที่มีมติคณะรัฐมนตรีใหรักษา

                ไวเปนปาสงวนแหงชาติ และนํามาจัดสรรใหเกษตรกรตามกฎเกณฑเงื่อนไข
                         มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2530 กําหนดใหปาชายเลนที่เปนเขตอนุรักษ หามใชประโยชน

                ใด ๆ ทั้งสิ้น โดยหากตองการใชประโยชนตอขออนุมัติคณะรัฐมนตรีเปนการเฉพาะรายเพื่อใหยกเลิกเขตปาสงวน

                แหงชาติ ไมวาจะเปนการใชประโยชนโดยหนวยงานรัฐหรือเอกชน



                4.4 ลักษณะปญหาการละเมิดสิทธิ

                         แมวา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวดที่ 3 สวนที่ 12 สิทธิชุมชน
                มาตรา 65 และ 66 และหมวด 5 วาดวยแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ สวนที่ 8 แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากร

                ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 84 ลวนเปนแนวนโยบายซึ่งแสดงใหเห็นวาประเทศไทยใหความสําคัญ

                กับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้น และเปนสวนสงเสริม
                และสนับสนุนในการพัฒนานโยบายปาไมใหเปนนโยบายสาธารณะได หากแตในความเปนจริงนั้น แมจะมีการรับรอง

                สิทธิชุมชนเอาไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ตั้งแตฉบับป พุทธศักราช 2540 ตอเนื่องมาถึงฉบับป
                พุทธศักราช 2550 ก็ตาม แตเนื่องจากกฎหมายเฉพาะหลายฉบับที่บทบัญญัติสวนใหญไมไดรับรองสิทธิชุมชน

                เอาไวอยางแจงชัดและยังมีลักษณะที่ไมเอื้ออํานวยตอการใชสิทธิของชุมชนนั้นไดถูกกําหนดขึ้นมาอยูกอนหนานี้แลว

                โดยเฉพาะกฎหมายวาดวยปาไม เชน พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ
                พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535

                ซึ่งเปนตัวบทกฎหมายหลักเพื่อใชในการจัดการทรัพยากรปาไมของประเทศ อีกทั้งทัศนคติของเจาหนาที่รัฐ
                ที่ถูกพัฒนามาจากแนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบแยกสวน แยกคนออกจากธรรมชาติ ไมรับรูจารีต

                ประเพณีวัฒนธรรมการอยูกับปาพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ ดังนั้น แมในบทบัญญัติของกฎหมายตาง ๆ เหลานั้นจะมี

                บางมาตราที่เปดชองใหชุมชนสามารถจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติได เชน มาตรา 20
                ของ พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติ แตการใชและการตีความกฎหมายของเจาหนาที่รัฐในชวงเวลาที่ผานมาก็ยังยึด

                แตสิทธิของรัฐและเอกชนไมยอมรับสิทธิชุมชน ดังกรณีการสงเสริมปาชุมชนของกรมปาไมก็ยังตองใหชุมชน

                ขออนุญาตจัดการใชประโยชนจากปาในนามพนักงานเจาหนาที่ของรัฐ สวนกรณีที่มีความขัดแยง เชน
                การตั้งถิ่นฐานในเขตปา การทําไรหมุนเวียน เจาหนาที่รัฐยังคงบังคับใชกฎหมายในสวนที่ไมเอื้ออํานวย

                ตอการใชสิทธิของชุมชน













         118     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144