Page 135 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 135

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         1)  ทบทวนมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหาของเกษตรกรผูยากจน และไมมีที่ดิน

                ทํากิน พรอมทั้งปญหาอุปสรรคในการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับเรื่องดังกลาวทั้งหมด

                         2)  เสนอความเห็นและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดิน เพื่อสรางความเปนธรรมและลดความ
                เหลื่อมลํ้าในการใชประโยชนที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติอยางเปนระบบ ชัดเจน มีความครอบคลุมและสามารถ

                บูรณาการใหบังเกิดผลสําเร็จอยางเปนรูปธรรม ตามนโยบายของรัฐบาล

                         กบช. ไดประชุมครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 สรุปไดวา แนวทางการบริหารจัดการ
                ที่ดินเชิงระบบการดูแลบริหารจัดการที่ดินของประเทศ จํานวน 320 ลานไร ซึ่งในปจจุบันกรมที่ดินดูแลที่ดินเอกชน

                ดวยการออกเปนโฉนดที่ดินหรือหนังสือแสดงสิทธิแลว จํานวน 127 ลานไร ภารกิจที่ตองดําเนินการคือ
                การบริหารจัดการที่ดินที่ยังไมมีเอกสารสิทธิหรืออยูในการครอบครองของหนวยงานของรัฐที่เหลือ 193 ลานไร

                คณะกรรมการฯ จึงไดกําหนดแนวทางการบริหารจัดการที่ดินเชิงระบบ มีกรอบการปฏิบัติงานเพื่อออกหนังสือ

                สําคัญแบงพื้นที่ออกเปนพื้นที่ของรัฐและพื้นที่เอกชน กําหนดพื้นที่การใชประโยชนที่ดินแยกเปนพื้นที่เกษตรกรรม
                พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่อุตสาหกรรม และพื้นที่อยูอาศัย นอกจากนี้ ใหจัดทําขอมูลที่ดิน ดําเนินการโดยจัดทํา

                ฐานขอมูลที่ดินของรัฐและเอกชนทั่วประเทศ และการจัดตั้งศูนยปฏิบัติการที่ดินระดับจังหวัด
                         ในการติดตามผลความคืบหนาในการดําเนินงานของคณะกรรมการบูรณาการฯ ในวันพุธที่ 29 สิงหาคม

                พ.ศ. 2555 ดังกลาว นายกรัฐมนตรีไดมอบหมายให กบช. ดําเนินการปรับปรุงและเพิ่มเติมรายละเอียด ดังนี้

                            1)  เรื่องแกไขปญหาการบุกรุกหรือที่ดินทับซอน ระหวางราษฎรกับหนวยงานของรัฐ แกไขปญหา
                การรุกลํ้าแมนํ้า ลําคลอง แหลงนํ้าสาธารณะ และที่ดินหวงหามของรัฐการสํารวจการถือครองที่ดินของรัฐโดยมิชอบ

                            2)  การบูรณาการขอมูลปญหาที่ดินจากหนวยงานของรัฐเพื่อนําไปแกไขระดับจังหวัด เชน

                ขอมูลผูบุกรุกหรือขอมูลผูไมมีที่อยูอาศัย
                            3)  ในสวนกลางใหมีการจัดตั้งหนวยงานเพื่อรองรับผลการปฏิบัติงานของศูนยปฏิบัติการระดับ

                จังหวัด

                            4)  ใหจัดทํา Master Plan เพื่อกําหนดภารกิจและกรอบระยะเวลาในการดําเนินงาน และจัดทํา
                Action Plan ในแตละภารกิจใหชัดเจน

                            5)  ใหนําวิธีการของการเคหะแหงชาติมาเปนเครื่องมือวิธีการหนึ่งในการแกไขปญหาดานที่อยูอาศัย
                ของราษฎรที่อยูมากอน ราษฎรผูบุกรุกที่ดินโดยผิดกฎหมาย ราษฎรผูรุกลํ้าแมนํ้า ลําคลอง แหลงนํ้าสาธารณะ

                และที่ดินหวงหามของรัฐ โดยใหความชวยเหลือราษฎรเหลานี้ควบคูไปกับการบริหารจัดการที่ดิน

                            6)  ใหสํานักนายกรัฐมนตรีรวบรวมปญหาขอรองเรียนของราษฎรเกี่ยวกับที่ดินสงใหคณะกรรมการ
                บูรณาการการบริหารจัดการที่ดินเชิงระบบ นํามาจัดแยกประเภทหมวดหมูใหชัดเจนเพื่อสงใหศูนยปฏิบัติการ

                ระดับจังหวัดพิจารณาแกไขปญหา








         114     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140