Page 22 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 22

นอกจากนี้ แมกระทั่งระหวางคนในครอบครัวดวยกันก็ไมมีความเสมอภาคเทาเทียมกันในความเปนจริง

               กลาวคือ เนื่องจากความสัมพันธภายในครอบครัวจะมีผูที่เปนหัวหนาครอบครัว ซึ่งมีหนาที่ในการปกครองเลี้ยงดู
               สมาชิกในครอบครัวและมีอํานาจเหนือสมาชิกทุกคนในครอบครัว สวนสมาชิกในครอบครัวก็มีหนาที่ตองเชื่อฟง

               คําสั่งและอยูใตอํานาจของหัวหนาครอบครัว เพราะตองพึ่งพาผูเปนหัวหนาครอบครัวสําหรับปจจัยตาง ๆ ที่จําเปน

               ในการดํารงชีวิต ในบางกรณีผูเปนหัวหนาครอบครัวอาจใชอํานาจเหนือที่ตนมีกระทําการที่เปนการละเมิด
               สิทธิมนุษยชนของคนในครอบครัว เชน การใชความรุนแรงกับคนในครอบครัวดวยวิธีการตาง ๆ หรือการละเมิด

               สิทธิเด็ก และคนในครอบครัวที่ถูกใชความรุนแรงหรือละเมิดสิทธิดังกลาว ก็ตองจํายอมเพราะยังตองพึ่งพาอาศัย
               ผูที่เปนหัวหนาครอบครัวอยู

                      จากความไมเสมอภาคเทาเทียมกันในความเปนจริงที่เกิดขึ้นในสังคมดังกลาว ไดกอใหเกิดความทุกขยาก

               แกคนสวนใหญของสังคมเปนอยางมากและถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน รัฐจึงมีหนาที่ตองเขาไปปกปอง
               คุมครองผูที่ออนแอกวาหรือดอยกวาในสังคมดังกลาว เพื่อใหเกิดความเปนธรรมในสังคม เพื่อใหเขาเหลานั้น

               มีสภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น มีความเสมอภาคเทาเทียมกันทั้งในความเปนจริงและในทางกฎหมายไมนอยไปกวา

               ผูมีอํานาจในสังคม หรือผูมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวาและเพื่อเปนการคุมครองสิทธิมนุษยชนของคนเหลานั้น ดังนั้น
               ประเทศตาง ๆ รวมทั้งประเทศไทยจึงไดมีการกําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจเขาไป

               ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกัน

                      อยางไรก็ตาม ในระยะหลัง ๆ นี้ ปรากฏวามีเรื่องรองเรียนหลาย ๆ เรื่องที่เสนอมายังคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติเพื่อใหพิจารณาตรวจสอบวาการกระทําตามเรื่องรองเรียนเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน

               หรือไม เปนเรื่องเกี่ยวกับการกระทําของเอกชนตอเอกชนดวยกัน และมีการตั้งประเด็นปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวาคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการกระทําในความสัมพันธ

               ระหวางเอกชนดวยกันหรือไม อันเปนปญหาเกี่ยวกับความรู ความเขาใจของประชาชนทั่วไปตออํานาจหนาที่และ

               การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเปนปญหาพื้นฐานที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอ
               ขอบเขตของการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน

               แกบุคคลทั่วไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติ
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542

                      คณะผูศึกษาวิจัยจะไดนําขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นตามเรื่องรองเรียนตาง ๆ ดังกลาวมาใชเปนฐานในการ

               วิเคราะหปญหาเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตอการกระทําขององคกร
               ของรัฐและตอการกระทําของเอกชนอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน และนําเสนอแนวทางในการแกไขปญหา

               ดังกลาวตอไป เพื่อใหประชาชนเกิดความเขาใจที่ถูกตองตรงกันเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตลอดจนผลของการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติดวย
                      แตการที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเขาไปตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ

               ระหวางเอกชนดังกลาวมีลักษณะเปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของบุคคล ดังนั้น จึงตองมีบทบัญญัติ

               ของกฎหมายใหอํานาจไวจึงจะกระทําได โดยการทําหนาที่ดังกลาวของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               จะมีขอบเขตที่จะกระทําไดแคไหน เพียงใด ขึ้นอยูกับวามีหลักการและมาตรฐานสากล หรือกฎหมายภายใน



                                                                                                               3
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27