Page 82 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 82

รายงานการศึกษาวิจัย  55
                                                             การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                             จากการเก็บขอมูลทั้งหมด พบวา สาเหตุสําคัญของการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของ
               ผูติดเชื้อมีดังนี้

                             (1) การขาดความรูที่ถูกตองของนายจางและคนรอบขางตอชองทางการติดเชื้อเอชไอวี ทําให
               นายจางในกิจการประเภทที่เกี่ยวของกับอาหารและการบริการ กลัวและตั้งขอรังเกียจ โดยอางวา เกรงวาจะไป

               แพรเชื้อกับผูอื่น ดังจะเห็นไดจากในกรณีของแมนที่สามารถกลับมาทํางานในบริษัท (แม) บริษัทเดิม โดยทํางาน
               ในกิจการที่ไมเกี่ยวของกับอาหาร นอกจากนี้ นายจางบางสวนยังขาดความรูในเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิและ

               การเลือกปฏิบัติตามกฎหมายไทย โดยนายจางบางแหงที่เคยมีการเลือกปฏิบัติยอมรับวา เปนเพราะไมรูวาผิด
               กฎหมาย  132

                             (2) ความเขาใจที่วา “เอดส เปนแลวตาย รักษาไมได” ทําใหนายจางจํานวนหนึ่ง เกรงวาการจาง
                                                                                      133
               ผูติดเชื้อไปทํางานแลวจะไมคุมคา เพราะเกรงวาผูติดเชื้อจะเจ็บปวยและลางานบอย ๆ  และในบางกรณี ก็เชื่อวา
               ผูติดเชื้อเอชไอวีมีขีดจํากัดในการทํางานอันเนื่องมาจากปญหาสุขภาพทําใหอาจจะไมคุมทุน โดยเฉพาะถามี
               การลงทุนพัฒนาบุคลากรแลวผูติดเชื้อไมสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ ทั้งยังรวมไปถึงคาใชจายที่นายจาง

               ตองจายใหเปนสวัสดิการในสวนที่เพิ่มเติมจากสิทธิประกันสังคม เชน เงินชดเชยกรณีออกจากงาน การเสียชีวิต
               เปนตน  ทั้ง ๆ ที่ในปจจุบันมีความกาวหนาในการรักษา ทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีสามารถดํารงชีวิตอยูไดตามปกติ
                     134
               แตความพยายามในการแกไขมายาคติดังกลาวก็ยังไมเพียงพอที่จะสรางทัศนคติที่ดีได
                             (3) ทัศนคติแบบเมตตา ที่เห็นวาเมื่อติดเชื้อแลวควรจะรักษาตนเอง หรือควรทํางานที่ไมมีความ

               เสี่ยง
                             (4) ทัศนะเชิงอคติ ที่เห็นวาการติดเชื้อเปนเรื่องผิด บาป นาละอาย จึงไมควรจะไปเกี่ยวของกับ

               ผูติดเชื้อ
                             กลุมผูติดเชื้อวิเคราะหวา การขาดความรูความเขาใจและอคติเหลานี้ สวนหนึ่งเปนผลมาจาก

               การรณรงคปองกันการระบาดของโรคเอดสตั้งแตทศวรรษแรก ๆ ที่มีลักษณะขูใหคนกลัว โดยเฉพาะจากคําขวัญ
               ที่วา “เอดส เปนแลวตาย รักษาไมได” ยิ่งเปนการปลูกฝงมายาคติทําใหเอดสและเชื้อเอชไอวีเปนเรื่องนากลัว

               โดยนโยบายการบริหารจัดการเอดสของภาครัฐเชนนี้ ถูกวิจารณวานโยบายของรัฐในการจัดการปญหาโรคเอดส
               คือ การลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีไปยังผูอื่น ตกอยูภายใตแนวคิดระบาดวิทยานั้น

               เปนการจํากัดมุมมองไมใหเห็นเอดสในมิติอื่น ๆ เลย โดยเฉพาะอยางยิ่งการเชื่อมโยงเอดส/เอชไอวี กับการตีตรา
                                135
               และการเลือกปฏิบัติ  นโยบายเชนนี้ยิ่งซํ้าเติมการตีตราและการเลือกปฏิบัติอยูตอไป
                             สําหรับการสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือในกลุมนายจาง ไดมีการเพิ่มเติมขอมูลและแลกเปลี่ยน
               มุมมองเกี่ยวกับมาตรการ/มาตรฐานอื่น ๆ ในกระบวนการผลิต/บริการ อันเปนเงื่อนไขที่ทําใหกิจการเหลานั้น

               ไมจําเปนตองมีการบังคับตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีในผูสมัครงาน ที่สําคัญไดแก 136




               132  การสนทนากลุมนายจาง/เจาของสถานประกอบการ, 14 มีนาคม 2556
               133  ทัศนะเชนนี้ ไดรับการยืนยันจากการสัมภาษณผูจัดการฝายบุคคลของบริษัทมหาชนแหงหนึ่ง, 17 กรกฎาคม 2556
               134  เจาของดีลเลอรธุรกิจขายรถยนตแหงหนึ่ง (ไมเปดเผยชื่อ), สัมภาษณ, 7 พฤศจิกายน 2556
               135  คณะกรรมการเครือขายองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส, เรื่องเดียวกัน, หนา 28-29.
               136  การสนทนากลุม กลุมนายจาง /เจาของสถานประกอบการ 14 มีนาคม 2556
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87