Page 55 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 55

28  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                          ในสวนของการพัฒนากรอบกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนผูติดเชื้อเอชไอวี พบวา กอนป
              พ.ศ. 2553 สิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีไดรับการรับรองและคุมครองภายใตกรอบกฎหมายวาดวยขจัดการเลือกปฏิบัติ

              ซึ่งในสหราชอาณาจักรมีกฎหมายในหมวดดังกลาวถึง 3 พระราชบัญญัติหลักดวยกัน กลาวคือ
                          1. พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางเพศ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975)

                          2. พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976)
                          3. พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ  พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995)

              แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005)



                          สําหรับการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีนั้น ไดกําหนดใหอยูภายใตพระราชบัญญัติการเลือก
              ปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ พ.ศ. 2538 โดยกฎหมายฉบับดังกลาวไดบัญญัติไววา หามมิใหมีการเลือกปฏิบัติตอ

              ผูที่ติดเชื้อเอชไอวีดวยเหตุแหงความพิการ  ในกรณีดังตอไปนี้ การศึกษา การจางงาน การเขารวมเปนสมาชิกของ
                                                58
              สหภาพ การจัดการที่อยูอาศัย การเขาถึงสินคาบริการ และเครื่องอํานวยความสะดวก เปนตน สําหรับประเด็น

              การจางงานนั้นกฎหมายไดบัญญัติใหมีผลบังคับใช ทั้งในประเทศอังกฤษ สก็อตแลนด ไอรแลนดเหนือ และเวลส
                          อยางไรก็ดี  แมวาจะมีกฎหมายที่รับรองและคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีจากการเลือกปฏิบัติ

              แตก็พบวาการบังคับใชกฎหมายยังไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจากความซํ้าซอนและความไมสอดคลองของ
              ตัวบทกฎหมายในการสงเสริมความเทาเทียมและการขจัดการเลือกปฏิบัติ นอกจากนั้น ยังพบวาในสวนของ

              พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ พ.ศ. 2538 นั้น ยังมีชองวางที่สงผลในเชิงลบตอการ
              คุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีจากการเลือกปฏิบัติ ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้

                          -  แมวากฎหมายกําหนดใหผูติดเชื้อเอชไอวีตองไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ แตตองเปน
              ผูติดเชื้อที่จะตองแสดงใหเห็นถึงอาการของโรคใหปรากฎเทานั้น  บุคคลที่ติดเชื้อเอชไอวีแตไมแสดงอาการจะไม

              ไดรับการคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับนี้
                          -  กฎหมายฉบับนี้จะไมขยายความคุมครองไปยังบุคคลที่เชื่อวาเปนผูติดเชื้อเอชไอวี รวมถึงบุคคล

              ผูใกลชิด เชน สมาชิกครอบครัว ก็จะไมอยูในความคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับนี้
                          -  ผูติดเชื้อเอชไอวีที่ใชยาเสพติดโดยใชเข็มฉีดยาจะไมไดรับการคุมครองตามกฎหมายฉบับนี้

                          -  กฎหมายไมใชบังคับกับนายจางหรือสถานประกอบการขนาดเล็ก เฉพาะนายจางที่มีลูกจางตั้งแต
              15 คนขึ้นไปเทานั้น จึงจะอยูในบังคับของกฎหมายฉบับนี้

                          -  กฎหมายยกเวนไมบังคับใชในกรณีการประกอบอาชีพ อาทิ การรับราชการทหาร ตํารวจ และไมมี
              ผลบังคับใชกับองคกรวิชาชีพ อาทิ เนติบัณฑิตยสภา

                          - การไลออกจากงาน เนื่องมาจากเหตุอื่นนอกเหนือไปจากการเปนผูติดเชื้อเอชไอวี เชน การละเมิด
              ขอสัญญา เชน การสิ้นสุดสัญญาจางงานเนื่องจากไมมีเงินจาง ไมถือเปนการเลือกปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ

              ฉบับนี้ 59
                          เพื่อแกไขปญหาในการบังคับใชพระราชบัญญัติ DDA รัฐบาลไดยกเลิกพระราชบัญญัติ DDA และ

              ประกาศใชกฎหมายวาดวยความเสมอภาค (Equality Act 2010) โดยพระราชบัญญัติวาดวยความเสมอภาคนี้


              58  Chapter 13, Section 18 ไดกําหนดให การเปนผูติดเชื้อเอชไอวีถือเปนประเภทหนึ่งของความพิการที่ไดรับการคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ (The
                Disability Discrimination Act 2005 (DDA))
              59  National AIDs Trust, Overview of UK Anti-Discrimination Law: Fact Sheet 6,  February 2003, www.areyouhivprejudice.org
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60