Page 58 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 58
รายงานการศึกษาวิจัย 31
การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
เอชไอวีใหมีความสอดคลองกับแนวปฏิบัติที่ดีในระดับสากล แตในปจจุบันประเทศไทยยังไมมีกฎหมายที่บัญญัติ
เพื่อสงเสริมการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเปนการเฉพาะ มีเพียงการริเริ่มจัดทํารางพระราชบัญญัติคุมครองผูติดเชื้อ
เอชไอวีหรือผูปวยเอดส พ.ศ. .... ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของสํานักนายกรัฐมนตรี แตเนื้อหาในรางกฎหมาย
71
ถูกวิจารณวามีแนวโนมที่จะยิ่งซํ้าเติมการตีตราและเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อมากกวา นอกจากนี้ ในปจจุบันมีแรง
กระตุนจากกลุมคนพิการใหมีการรางกฎหมายเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในภาพรวมในสํานักงานคณะกรรมการ
72
ปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) ดวย แตเนื่องจากยังไมมีเจาภาพที่ชัดเจน จึงยังไมมีความกาวหนาเทาใดนัก 73
ในปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายและนโยบายของรัฐที่เกี่ยวของ ดังนี้
2.3.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ในการคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีในประเด็นตาง ๆ รวมถึงสิทธิมนุษยชน
ในการประกอบอาชีพอยูภายใตการรับรองและคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ โดยมีหลักการที่สําคัญดังตอไปนี้
- ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ไดรับการรับรองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ในฐานะ
สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่สําคัญ (มาตรา 4 และ 28) ซึ่งบุคคลจะตองไดรับการคุมครองสิทธิและการเคารพ
ในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยจากรัฐและบุคคลอื่น ๆ
74
- หลักความเสมอภาค และการไมเลือกปฏิบัติ อาจกลาวไดวา นอกจากความเสมอภาคและ
การไมเลือกปฏิบัติในความหมายทั่วไป แลวมาตรา 30 วรรคสามแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ไดนําหลักการที่เรียกวา การเลือกปฏิบัติที่เปนธรรม (positive discrimination) เพื่อยืนยันวา
ในกรณีที่มีการเลือกปฏิบัติ รัฐสามารถกระทําไดหากการเลือกปฏิบัติดังกลาวเปนไปเพื่อการขจัดอุปสรรคหรือ
สงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่น นอกจากนี้ เพื่อเปนการคุมครองความเสมอ
ภาคเทาเทียม รัฐธรรมนูญไดบัญญัติใหรัฐมีหนาที่ในการดําเนินนโยบายดานตาง ๆ รวมถึงการดําเนินนโยบายดาน
กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเพื่อประกันหลักความเสมอภาคตอหนากฎหมาย ซึ่งบุคคลตองไดรับ
ความคุมครองโดยไมแบงแยก อาทิ การดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายอยางถูกตอง
รวดเร็ว เปนธรรมและทั่วถึง เปนตน
75
- หลักสิทธิสวนบุคคล (privacy) ซึ่งหมายถึงสิทธิของบุคคลที่จะอยูโดยลําพัง ปราศจากการ
แทรกแซงของบุคคลอื่น โดยรัฐตองใหความคุมครองและเปนสิทธิที่ลวงละเมิดไมได เวนแตเพื่อประโยชนของ
สาธารณะ โดยรัฐธรรมนูญไดมีการรับรองและคุมครองสิทธิสวนบุคคลในหลายมาตรา อาทิ มาตรา 35 ใหความ
คุมครองสิทธิสวนบุคคล โดยเฉพาะในเรื่องการเผยแพรขอมูลที่กระทบถึงสิทธิสวนบุคคล สวนมาตรา 44 คุมครอง
หลักประกันเรื่องความปลอดภัยและสวัสดิการในการทํางาน และมาตรา 51 คุมครองสิทธิในการรับบริการทางดาน
สาธารณสุขที่เหมาะสมและไดมาตรฐาน 76
71 ขอสังเกตจากประธานเครือขายผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส (ประเทศไทย) ในการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นตอผลการศึกษา 16 พฤศจิกายน 2556
72 คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย หนวยงานที่ตั้งขึ้นตามบทบัญญัติในมาตรา 81(3) ประกอบกับมาตรา 308 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
ที่บัญญัติใหรัฐตองตั้งใหมีการจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายที่เปนอิสระเพื่อปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของประเทศและปรับปรุงกฎหมายใหเปนไป
ตามรัฐธรรมนูญ โดยตองรับฟงความคิดเห็นของผูที่ไดรับผลกระทบจากกฎหมายนั้นประกอบดวย รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินการรางกฎหมายของประชาชน
ผูมีสิทธิเลือกตั้ง (หมายเหตุทายพระราชบัญญัติคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ.2553)
73 นางสุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กลาวถึงความเคลื่อนไหวเรื่องนี้ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอผลการศึกษา 16
พฤศจิกายน 2556
74 อาทิ มาตรา 4, 5, 28, 30,35 และ 51 เปนตน
75 มาตรา 81 (1)
76 อาทิ มาตรา 35, 44, 51