Page 30 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 30

รายงานการศึกษาวิจัย  3
                                                             การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                             2) ศึกษาสภาพการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในมิติตาง ๆ เชน การเลือกปฏิบัติ ความไม
               เสมอภาค การดูถูกเหยียดหยาม การละเมิดศักดิ์ศรี การกีดกัน ฯลฯ และรวบรวบขอมูล และขอเท็จจริงอันเปน

               สาเหตุและปจจัยที่ทําใหเกิดปญหา รวมถึงผลกระทบในมิติสิทธิมนุษยชนตอกรณีการเลือกปฏิบัติในการประกอบ
               อาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยศึกษาจากกลุมเปาหมายในพื้นที่/ชุมชน ประกอบดวย

                                (1) กลุมผูติดเชื้อเอชไอวี 2 ประเภท คือ กลุมที่มีงานทํา และกลุมที่เคยถูกปฏิเสธไมรับเขา
               ทํางานหรือถูกเลิกจาง

                                (2) กลุมผูใกลชิดผูติดเชื้อเอชไอวี
                                (3)  กลุมนายจาง/เจาของสถานประกอบการ

                                (4)  กลุมลูกจางในสถานประกอบการ และ
                                (5) กลุมเจาหนาที่ของรัฐ เอกชน และองคกรพัฒนาเอกชน ที่ทํางานเกี่ยวของกับ

               ผูติดเชื้อเอชไอวี โดยกําหนดจํานวนกลุมตัวอยางในแตละกลุมใหมีปริมาณเพียงพอในระดับที่จะทําใหขอมูล
               งานศึกษาวิจัยไดรับความเชื่อมั่นและเปนตัวแทนที่ยอมรับไดทางวิชาการ

                             3) ศึกษาวิเคราะหแนวนโยบายของรัฐ หลักการและมาตรการที่เกี่ยวของกับการปกปองคุมครอง
               สิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีตามกฎหมาย นโยบายของรัฐ มาตรการและแนวปฏิบัติตาง ๆ

               รวมทั้งการดําเนินงานของหนวยงานที่รับผิดชอบในเรื่องดังกลาว วามีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการ
               ปกปองคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบ

               อาชีพไดหรือไม เพียงใด
                             4) ศึกษาและเสนอแนะรูปแบบที่เหมาะสมในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบ

               อาชีพ และการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ประสบปญหาดังกลาว และจะตองสรุปเปนขอเสนอแนะ
               เชิงนโยบาย และหรือขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมายตอหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ

                      1.3.2  จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนําเสนอรางรายงานการศึกษา และใหมีการวิพากษงานศึกษาโดย
               ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ โดยมีผูเขารวมประชุมประกอบดวย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

               คณะอนุกรรมการ ผูบริหารและเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ นักวิชาการ
               ผูแทนหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชนดานสิทธิมนุษยชนและภาคประชาชนที่ทํางาน

               เกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวี
                      1.3.3  พิจารณาทบทวนและปรับปรุงรายงานการศึกษา ตามความเห็นและขอเสนอแนะจาก

               การประชุมเชิงปฏิบัติการ และจัดทํารายงานการศึกษา เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ
               เอชไอวี ฉบับสมบูรณ



               1.4  กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษา : การตีตราและการเลือกปฏิบัติ (Stigma and Discrimination)

                           เมื่อป ค.ศ. 1987 Jonathan Mann ผูอํานวยการ WHO Global Programme on AIDS ไดกลาวถึง

               การแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีและโรคเอดสไวอยางนาสนใจ โดยแบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะแรก เปนการ
               แพรระบาดของเชื้อเอชไอวี ระยะที่สอง เปนการแพรระบาดของโรคเอดส และระยะที่สาม เปนการแพรระบาด

               ของการตีตรา การเลือกปฏิบัติและการไมยอมรับ (ผูติดเชื้อ) โดยชี้ใหเห็นวา ระยะที่สามนี้ เปนระยะที่สําคัญและ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35