Page 31 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 31

4  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                                                                                  1
              มีความทาทายตอวงการเอดสโลกเทา ๆ กับหรือมากกวาตัวโรคเอดสเสียดวยซํ้าไป  และแมวาจะมีความพยายาม
              ระดับนานาชาติในการตอสูกับโรคเอดสและเชื้อเอชไอวี แตปญหาการตีตราและการเลือกปฏิบัติก็ยังคงมีอยู

              ในกลุมผูที่ขาดความเขาใจในเรื่องการแพรระบาดของโรค
                          การตีตราในกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีมีหลายแบบ เชน การปฏิเสธ การโดดเดี่ยว การกลาวโทษและทําให

              อับอาย เมื่อผูติดเชื้อกลัวการถูกเลือกปฏิบัติก็มักจะทําใหพวกเขาไมกลาที่จะรักษาตัวเอง หรือแมแตจะเปดเผยวา
                              2
              ตนเองเปนผูติดเชื้อ  ดังนั้น นอกจากการเลือกปฏิบัติจะเปนปญหาในตัวเองแลว ยังมีผลทําใหการปองกันและการ
              จัดการการแพรระบาดของโรคยุงยากมากขึ้นยิ่งไปกวานั้น การตีตรากลุมผูติดเชื้อยังขยายไปถึงคนรุนตอไปดวย
              ทําใหพวกเขาตองรับภาระทางจิตใจมากขึ้น โดยเฉพาะกับเด็กที่ตองสูญเสียสมาชิกในครอบครัว และยังตอง

              เสียโอกาสอื่น ๆ ทั้งในดานการศึกษา และความสัมพันธในสังคม
                          การยุติปญหาการตีตราและการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี จึงเปนเรื่องสําคัญเทา ๆ กับการพัฒนา

              วัคซีน โดยการใหความรูมีความสําคัญอยางยิ่งในการขจัดปญหาดังกลาว ยุทธศาสตรในการแสดงใหเห็นถึงปญหา
              การตีตราเปนเรื่องสําคัญสําหรับการปองกันโรคและโปรแกรมการใหความรูจะตองขยายไปในชุมชนเพื่อใหมี

              ประสิทธิภาพ 3
                          แนวคิดเรื่องการตีตราและการเลือกปฏิบัติมีความเชื่อมโยงตอกัน โดยเฉพาะการตีตราผูติดเชื้อ

              เอชไอวี เมื่อพวกเขาถูกตีตราจากสังคมหนึ่ง ๆ ก็ทําใหถูกเลือกปฏิบัติหรือถูกกีดกันจากสังคมและอาจถูกละเมิด
              สิทธิมนุษยชนดวย โดยในหลายประเทศ มีการรายงานถึงกรณีที่ผูติดเชื้อถูกปฏิเสธสิทธิในการรักษาพยาบาล

              การทํางาน การศึกษา รวมถึงเสรีภาพในการเคลื่อนไหวดวย 4
                          การตีตรา หมายถึง “ภาวะที่บุคคลหรือกลุมชนในสังคมหนึ่งกําหนดวาอะไรคือความแตกตางของ

              บุคคล ลักษณะของบุคคลที่พึงประสงคหรือไมพึงประสงคควรเปนอยางไร ลักษณะใดที่มีความแตกตางไปจากที่คน
              สวนใหญประสงคจะถือวามีความเบี่ยงเบนสงผลใหบุคคลสูญเสียชื่อเสียง ไมนาไววางใจหรือเกิดความอับอาย

              ตลอดจนทําใหบุคคลนั้นรูสึกวาคุณคาตัวตนลดลงในสายตาของสังคม บุคคลที่ไดรับตราบาปหรือถูกตีตราบาปจะ
              เกิดความรูสึกวา “ตนมีความแตกตางจากผูอื่นอยางที่ไมพึงประสงค” (Undesirable difference) ทั้งนี้คุณลักษณะ

              ที่จะถูกตีตราบาปดังกลาวขึ้นอยูกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่คนจํานวนมากในสังคมนั้น ๆ มีอํานาจเปน
              ผูกําหนดขึ้น  ซึ่งความหมายของตราบาปเนนไปที่มุมมองของสังคมที่อางอิงจากบรรทัดฐานทางสังคมหลอหลอม

              รวมกันเปนความรูสึกที่แยกแยะ “ความตาง” (difference) หรือ “ความเบี่ยงเบน” (deviance) สงผลใหบุคคล
              เกิดการตอตานจากสังคม โดยผูที่ถูกตีตราบาปจะถูกมองจากคนในสังคมวาเปนผูที่มี “ลักษณะเดนที่ทําใหเกิด

              การเสื่อมเสีย” (Spoiled Identity) 5





                                                           nd
              1   Mann, J..Statement at an Informal Briefing on AIDS to the 42  Session of the United Nations General Assembly, 20 October 1987,
                New York cited in Richard Parker et.al. HIV/AIDS-related Stigma and Discrimination: A Conceptual Framework and an Agenda for Action.
                Horizons Program, 2002 [online] available at http://hivaidsclearinghouse.unesco.org/search/resources/horizons.pdf
              2   R.Smart. HIV/AIDS-related Stigma and Discrimination. Module 1.4 [online] available at http://www.iiep.unesco.org/fileadmin/
               user_upload/Cap_Dev_Training/pdf/1_4.pdf
              3   R.Smart. Ibid.
              4   UNAIDS.HIV/AIDS-related Stigma, Discrimination and Human Right Violation : Cases Studies of Successful Programme, 2005 [online]
                available at http://data.unaids.org/publications/irc-pub06/jc999-humrightsviol_en.pdf
              5   Erving Goffman. Stigma : Note on the Management of Spoiled Identity. Harmondsworth : Penguins Book, 1963 อางถึงใน นิฮาฟซา
                หะยีวาเงาะ, ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดสและการตีตราทางสังคม : กรณีศึกษาชุมชนมุสลิมในจังหวัดปตตานี, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาพัฒนามนุษย
                และสังคม (สหสาขาวิชา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2555, หนา 18-19.
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36