Page 33 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 33

6  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



              ไมเคยเปน เชน บางครั้งผูชายอาจจะเกรงวาการเปดเผยวาตนติดเชื้อเอชไอวี จะทําใหถูกมองวาตนเองเปนกลุม
              รักรวมเพศ หรือผูหญิงก็อาจจะไมอยากเปดเผยเพราะเกรงจะถูกมองวาเปนผูหญิงสําสอน เปนกลุมคาบริการ

                          ขั้นที่สอง การตีตราและการเลือกปฏิบัติเปนการซํ้าเติมอาการของผูติดเชื้อใหมีความเสี่ยง
              มากกวาเดิม ทําใหพวกเขายิ่งถูกตีตราและกีดกันมากยิ่งขึ้น



              1.5 ระเบียบวิธีการศึกษา

                     การศึกษาเรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีนี้ ถูกออกแบบใหเปนการวิจัย

              แบบมีสวนรวม (Participatory Research) ซึ่งเปนการวิจัยที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders)
              ไดมาสรางความรูรวมกัน (co-production of knowledge) โดยอาศัย “การประชุมเชิงปฏิบัติการของ

              ผูมีสวนไดสวนเสีย ครั้งที่ 1” (stakeholder’s workshop #1) เปนเวทีในการเริ่มตนตั้งโจทยวิจัย การพัฒนา
              เครื่องมือรวมกัน

                     การวิจัยแบบมีสวนรวม มีจุดเดนในแงที่ทําใหผูวิจัยสามารถเก็บขอมูลไดอยางลุมลึก รอบดาน และยังเปน
              โอกาสในการเสริมพลังทางดานความรูใหกับผูมีสวนไดสวนเสียที่มีสวนรวมในการวิจัยดวย

                     ดังที่ไดกลาวไวในสวนที่แลววา สาเหตุสําคัญของการตีตราและการเลือกปฏิบัติสวนหนึ่งมาจาก
              การขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี คณะผูวิจัยจึงออกแบบใหการวิจัย

              ครั้งนี้มีสวนในการพัฒนาความรูความเขาใจของคณะผูวิจัย และผูมีสวนไดสวนเสียไปพรอม ๆ กัน เพื่อใหขอเสนอ
              แนวทางการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อที่เปนจริง

                     เพื่อวัตถุประสงคดังกลาว ผูวิจัยจึงใชวิธีการเก็บขอมูล และประยุกตใชเครื่องมือในการเก็บขอมูล
              หลายอยางประกอบกัน ดังนี้

                     1.5.1  การวิจัยเอกสาร มี 2 ขั้นตอนที่ตอเนื่องกัน ดังนี้
                            1) การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับหลักความเสมอภาคในการประกอบอาชีพ หลักการสิทธิมนุษยชน

              หลักการสากล และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวของกับการปกปองคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของ
              ผูติดเชื้อเอชไอวี จากกฎหมายในประเทศไทยและตางประเทศ ปฏิญญาสากล กติกาและอนุสัญญาระหวางประเทศ

              เอกสารทางวิชาการ หนังสือ ตํารา รายงานการวิจัยที่เกี่ยวของในประเทศไทยและตางประเทศ รวมถึงการศึกษา
              เปรียบเทียบตัวอยางมาตรการของตางประเทศอยางนอย 3 ประเทศ โดยใหความสําคัญกับประเทศที่ประสบ

              ความสําเร็จในการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อ ประเทศที่มีกฎหมายหามการเลือกปฏิบัติในแบบตาง ๆ กัน เชน
              เครือรัฐออสเตรเลีย อาจเปนตัวอยางของประเทศที่มีมาตรการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ

              ในแบบเสรีนิยม สหราชอาณาจักรอาจเปนตัวอยางของประเทศที่มีนโยบายรัฐสวัสดิการ และสาธารณรัฐฟลิปปนส
              เปนตัวอยางของประเทศกําลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวย

                            2) การวิเคราะหแนวทางและนโยบายการแกไขปญหาของรัฐบาลไทยในการคุมครองสิทธิในการ
              ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยศึกษาจากระเบียบ ประกาศ นโยบายของรัฐ มาตรการทางกฎหมาย

              แนวทางการปฏิบัติและการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ
                     1.5.2  การศึกษาสภาพการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในมิติตาง ๆ สาเหตุและปจจัยที่ทําให

              เกิดปญหา รวมทั้งผลกระทบในมิติสิทธิมนุษยชนตอการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ อาศัย
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38