Page 16 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 16

รายงานการศึกษาวิจัย  1
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                                           บทนํา



                  สิทธิในความเปนสวนตัวถือเปนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานประการหนึ่ง ซึ่งมีที่มาจากคําสอนในศาสนาคริสต
               ที่วามนุษยทุกคนเสมอเหมือนกันในสายตาของพระผูเปนเจา มนุษยจึงมีความเสมอภาค มีศักดิ์ศรีของ

               ความเปนมนุษย และมีสิทธิเสรีภาพเสมอภาคเทาเทียมกัน การกระทําใด ๆ ที่เปนการลิดรอนหรือทําลายสิ่งเหลานี้
               เปนการกระทําที่ผิด คําสอนดังกลาวสอดคลองกับแนวความคิดเรื่องสิทธิตามธรรมชาติ (Natural right) ที่วา

               เหนืออํานาจสูงสุดของมนุษย คือ ธรรมชาติ และมนุษยถือกําเนิดขึ้นมาพรอมกับสิทธิในชีวิต สิทธิในทรัพยสิน
               เสรีภาพในรางกายและความเสมอภาคกัน สิทธิและเสรีภาพเหลานี้เปนสิ่งที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแตเกิด ผูใชอํานาจ

               ปกครองไมมีอํานาจที่จะลบลางและมิอาจจะกาวลวงได ดังนั้น บุคคลทุกคนยอมมีสิทธิและเสรีภาพในความเปนอยู
               สวนตัว และสามารถกระทําการใด ๆ ก็ไดตราบเทาที่ไมกระทบสิทธิของบุคคลอื่นและไมผิดกฎหมาย



               1.  หลักสากลที่รับรองและคุมครองสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลธรรมดา

                  โดยที่สิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลเปนสิทธิมนุษยชนประการหนึ่งนี้เอง การศึกษาเกี่ยวกับสิทธิใน
               ความเปนสวนตัว จึงจําเปนที่จะตองศึกษาสิทธิในความเปนสวนตัวที่ไดรับการรับรองและคุมครองตามขอตกลง

               ระหวางประเทศและกฎหมายตาง ๆ อันเปนหลักสากล โดยเฉพาะอยางยิ่งปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน
               ค.ศ. 1948 (Universal Declaration of Human Rights 1948) ประการหนึ่ง และอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวย

               การคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (European Convention for the Protection of Human
               Rights and Fundamental Freedoms) อีกประการหนึ่ง ซึ่งอาจกลาวโดยสังเขปในสวนนี้ได ดังนี้

                  1.1  ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 (Universal Declaration of Human
               Rights 1948)

                           เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญ สมัยที่ 3  ไดมีขอมติ
                                                                                                   1
               รับรองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีเจตนารมณเพื่อรับรองและคุมครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน

               ทั่วโลกอยางแทจริง ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนดังกลาวจึงถือวา เปนเอกสารที่มีความสําคัญอยางยิ่ง
               ตอการวางรากฐานดานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศอันเปนมาตรฐานสากลที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติ

               ไดรวมกันจัดทําขึ้น นอกจากนี้ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนดังกลาวยังเปนพื้นฐานของการตรากฎหมาย
               และการทําขอตกลงระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนฉบับตาง ๆ ในระยะเวลาตอมาอีกดวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง

               อนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน













               1   การประชุมดังกลาวไดจัดขึ้น ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส และปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนดังกลาวไดรับการประกาศ
                 ในรัฐกิจจานุเบกษาของสาธารณรัฐฝรั่งเศส (le Journal Officiel) เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 1949
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21