Page 144 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 144

142    ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                  ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗




                               ๒.  รัฐภาคีแต่ละรัฐจะต้องดำาเนินมาตรการที่จำาเป็นเพื่อจะเสาะหาและบ่งชี้เด็ก

                  ที่ได้ระบุไว้ตามวรรคหนึ่ง (ก) ของข้อนี้ และส่งเด็กคืนสู่ครอบครัว ...................
                               ๓.  รัฐภาคีจะต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการเสาะหา บ่งชี้ และจัดหาที่อยู่แก่เด็ก

                  ที่ระบุในวรรคหนึ่ง (ก) ของข้อนี้
                               ๔.  เนื่องจากความจำาเป็นที่จะต้องปกป้องผลประโยชน์สูงสุดของเด็กที่ได้ระบุไว้ตาม

                  วรรคหนึ่ง (ก) ของข้อนี้ ....................รัฐภาคีที่ยอมรับระบบการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมหรือการอุปการะ
                  เด็กในรูปแบบอื่นๆ จะต้องมีขั้นตอนทางกฎหมายที่ทบทวนการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม หรือการ

                  อุปการะได้ และหากเป็นการเหมาะสม ให้ยกเลิกการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมหรือการอุปการะเด็ก
                  ซึ่งมีที่มาจากการใช้กำาลังบังคับเพื่อให้หายสาบสูญ

                               ๕.  ..............................................................


                        ๒.๓.๒  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

                               มาตรา ๒๙  การจำากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้จะกระทำามิได้

                  เว้นแต่โดยอาศัยอำานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะ เพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กำาหนดไว้

                  และเท่าที่จำาเป็น และจะกระทบกระเทือนสาระสำาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้
                               ................................
                               บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้นำามาใช้บังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอำานาจ

                  ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายด้วยโดยอนุโลม

                               มาตรา ๓๒  บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การทรมาน ทารุณกรรม

                  หรือการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้าย หรือไร้มนุษยธรรม จะกระทำามิได้  แต่การลงโทษตามคำาพิพากษา
                  ของศาลหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ ไม่ถือว่าเป็นการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้าย หรือไร้มนุษยธรรม

                  ตามความในวรรคนี้
                               การจับและการคุมขังบุคคล จะกระทำามิได้  เว้นแต่มีคำาสั่งหรือหมายของศาลหรือ

                  มีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
                               ......................................



                        ๒.๓.๓  ประมวลกฎหมายอาญา

                               มาตรา ๔  .........................

                               การกระทำาผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ให้ถือว่ากระทำาผิด

                  ในราชอาณาจักร

                               มาตรา ๘  ผู้ใดกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร และ
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149