Page 49 - โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 49
๓๕
๒) นโยบายการสร้างความมั่งคงด้านพลังงาน ในผังภาคใต้ปี ๒๖๐๐
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานพลังงาน ศูนย์กลางค้าขายพลังงาน
ภาคใต้มีความได้เปรียบด้านที่ตั้ง จึงมีศักยภาพเป็นศูนย์กลางพลังงานในภูมิภาค
สําหรับผังภาคใต้ปี ๒๖๐๐ กําหนดแนวทางการพัฒนาพลังงานในภาคใต้ออกเป็น ๔ ระยะ แสดงไว้ใน
รูปภาพที่ ๗ ดังนี้
ลงทุนสร้างฐานผลิตและแหล่งทรัพยากร
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สัมปทาน
การร่วมทุนในการค้าขายพลังงาน
ประสานความร่วมมือเพื่อนบ้านเพื่อกําหนด ระยะ ๓๐-๕๐ ปี
แนวทางพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๘๑-๒๖๐๐
ทับซ้อน พื้นที่คาบเกี่ยว พื้นที่พัฒนาร่วม
ปรับพื้นที่ภาคใต้ให้เป็นศูนย์กลางค้าขาย
กําหนดผังพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานพลังงาน : ระยะ ๑๐-๓๐ ปี
โรงกลั่น โรงแยก คลังน้ํามัน ท่าเรือขนส่งน้ํามัน พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๘๐
ท่อพลังงาน โรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง
ระยะ ๕-๑๐ ปี
พัฒนาแหล่งพลังงานให้เพียงพอ
ส่งเสริมการสํารวจและแหล่งผลิต พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๕
ระยะ ๑-๕ ปี
พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๕
รูปภาพที่ ๗ แนวทางพัฒนาความมั่นคงด้านพลังงาน ในผังภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๖๐๐
(๑) แนวทางการพัฒนาภาคใต้ ระยะ ๑-๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๕)
- จัดหาและพัฒนาพลังแหล่งพลังงานให้เพียงพอต่อความต้องการภายในภาคใต้
โดยส่งเสริมการสํารวจและแหล่งผลิตพลังงานในภาคใต้ ซึ่งจากการคาดการณ์พบว่าภาคใต้จะมีความ
ต้องการพลังงานสูงขึ้นเป็น ๒ เท่า ใน ๑๕ ปีข้างหน้า
- พัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน จังหวัดกระบี่ ให้เป็นโรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงาน
ไฟฟ้าฐาน เพื่อตอบสนองความต้องการใช้ไฟฟ้า