Page 214 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 214
183
ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขอรองเรียนเกี่ยวกับการทําเหมืองแร ในจังหวัดเลย จังหวัดอุดรธานีและจังหวัด
หนองบัวลําภู และขอรองเรียนเกี่ยวกับการขุดเจาสํารวจป[โตรเลียม ในจังหวัดบุรีรัมย3และจังหวัดกาฬสินธุ3
การวิเคราะห3พบวา สาระสําคัญของผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป5นผังระดับนโยบาย ได
กําหนดใหภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป5นแหลงผลผลิตการเกษตรที่ใชเลี้ยงประชากรในประเทศ มีการกําหนด
พื้นที่สงวนและอนุรักษ3 พื้นที่คุมครองสภาพแวดลอม พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เมืองและอุตสาหกรรม โดยการ
พัฒนาอุตสาหกรรมจะเนนอุตสาหกรรมการเกษตรที่สอดคลองกับฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอมและในสวน
การเกษตรนั้นพบวาในจังหวัดบุรีรัมย3และจังหวัดกาฬสินธุ3ที่มีขอรองเรียนเรื่องการขุดเจาะสํารวจป[โตรเลียมนั้น
เป5นพื้นที่ที่ไดรับการกําหนดเป5นพื้นที่เกษตรกรรมปลูกขาว มันสําปะหลังและยางพาราและพัฒนาอุตสาหกรรม
การเกษตรตอเนื่องกับผลผลิตการเกษตรดังกลาว สวนจังหวัดกาฬสินธุ3เป5นพื้นที่เกษตรกรรมที่เนนในเรื่องพืชไร
มันสําปะหลัง ออย และเป5นพื้นที่เกษตรอุตสาหกรรม สําหรับจังหวัดอุดรธานี จังหวัดเลยนั้นในผังนโยบายการ
ใชที่ดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กําหนดไวเป5นพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม พื้นที่สงวนและอนุรักษ3ปCาไม เป5น
พื้นที่มีศักยภาพทางการเกษตร การทองเที่ยว และเป5นแหลงโบราณคดีที่สําคัญ
อยางไรก็ตาม ในผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือนี้ ไดมีการกําหนดผังนโยบายในดานอุตสาหกรรม
โปแทชที่จังหวัดอุดรธานี แตมิไดมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่และในดานผังนโยบายพลังงานไดมีการเสนอใหมี
การสงเสริมการลงทุนพัฒนาธุรกิจพลังงานในภูมิภาค แตทั้งกรณีการพัฒนาเหมืองแรและพื้นที่ลงทุนธุรกิจ
พลังงานนั้น มิไดถูกกําหนดพื้นที่ไวในผังนโยบาย ในขณะที่ผังนโยบายการใชที่ดินและผังนโยบายดานการ
เกษตรกรรม พื้นที่สวนใหญของจังหวัดเลย อุดรธานี บุรีรัมย3 และกาฬสินธุ3 ไดรับการกําหนดเป5นพื้นที่ชนบท
เกษตรกรรมและพื้นที่อนุรักษ3ปCาไม ซึ่งจะเห็นวาในผังนโยบายการใชที่ดินและการพัฒนาการเกษตรมีความ
ขัดแยงในการใชที่ดินกับผังนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแรและผังนโยบายการพัฒนาพลังงาน จึง
ควรที่จะมีการประเมินผลกระทบระดับยุทธศาสตร3ดวยกระบวนการมีสวนรวม (SEA – Strategic
Environmental Assessment) เพื่อใหเกิดทางเลือกการใชประโยชน3พื้นที่เพื่อการพัฒนาที่เหมาะสม ที่เป5น
การรวมกําหนดและลดความขัดแยงในระดับโครงการ
การประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร3 เป5นเครื่องมือและกลไกที่ใชเชื่อมประสานการทํางาน
ของหลายฝCายเขาดวยกัน เริ่มจากการกําหนดทิศทางการพัฒนาใหเกิดดุลยภาพทั้งเศรษฐกิจ สังคมและ
สิ่งแวดลอมไปพรอมกัน บนฐานกระบวนการที่ผูมีสวนไดเสียไดเขามารวมตัดสินใจเลือกการพัฒนานั้นๆ โดย
มีพื้นฐานของการบริหารจัดการที่ดี มีความรับผิดชอบรวมกัน การพิจารณาฐานศักยภาพ เงื่อนไข บริบทตางๆ
ทั้งทางบวกและลบ จึงเป5นทั้งเครื่องมือและกลไกหนึ่งที่จะนํามาสูการบูรณาการทั้งความคิดและการปฏิบัติการ