Page 172 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 172
170 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
DDD
กฎหมายระหว่างประเทศ
UDHR: ข้อ ๘
ICCPR: ข้อ ๒ (๓)
HRC: ข้อคิดเห็นทั่วไปข้อ ๒๙
DDD
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ม�ตร� ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหม�ยสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหม�ย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้
ม�ตร� ๒๖ ก�รใช้อำ�น�จโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้องคำ�นึงถึงศักดิ์ศรีคว�มเป็น
มนุษย์ สิทธิและเสรีภ�พ ต�มบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
ม�ตร� ๒๗ สิทธิและเสรีภ�พที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้โดยชัดแจ้ง โดยปริย�ยหรือ
โดยคำ�วินิจฉัยของศ�ลรัฐธรรมนูญ ย่อมได้รับคว�มคุ้มครองและผูกพันรัฐสภ�
คณะรัฐมนตรี ศ�ล รวมทั้งองค์กรต�มรัฐธรรมนูญ และหน่วยง�นของรัฐโดยตรง
ม�ตร� ๒๘ บุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภ�พ ส�ม�รถฟ้องต่อศ�ลได้
ม�ตร� ๓๒ (๕) ในกรณีที่มีก�รกระทำ�ซึ่งกระทบต่อสิทธิและเสรีภ�พต�มวรรคหนึ่ง
ผู้เสียห�ย พนักง�นอัยก�ร หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ของผู้เสียห�ยมีสิทธิร้อง
ต่อศ�ลเพื่อให้สั่งระงับหรือเพิกถอนก�รกระทำ�เช่นว่�นั้น รวมทั้งจะกำ�หนดวิธีก�ร
ต�มสมควรหรือก�รเยียวย�คว�มเสียห�ยที่เกิดขึ้นด้วยก็ได้
ม�ตร� ๔๐ (๕) ผู้เสียห�ย ผู้ต้องห� จำ�เลย และพย�นในคดีอ�ญ� มีสิทธิได้รับคว�ม
คุ้มครอง และคว�มช่วยเหลือที่จำ�เป็นและเหม�ะสมจ�กรัฐ ส่วนค่�ตอบแทน
ค่�ทดแทน และค่�ใช้จ่�ยที่จำ�เป็น ให้เป็นไปต�มที่กฎหม�ยบัญญัติ
DDD
ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Human Rights Declaration)
ข้อ ๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับก�รเยียวย�ที่มีประสิทธิผล และมีผลบังคับต�มที่
กำ�หนดโดยศ�ลหรือองค์กรอื่นที่มีอำ�น�จ จ�กก�รกระทำ�อันละเมิดต่อสิทธิที่
บุคคลนั้นได้รับต�มรัฐธรรมนูญ หรือกฎหม�ย
DDD