Page 113 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 113
คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 111
๓๑
มีการคุมขัง เช่น กฎต้องไม่แสดงถึง “การลงโทษอย่างไม่ได้
สัดส่วนที่ชัดแจ้ง(manifestly un-proportional)” “ไม่ยุติธรรม”
หรือ “ไม่สามารถคาดการณ์ได้” และวิธีการจับกุมที่เหมาะสม
๓๒
และสมเหตุสมผลตามหลักการของคดีนั้นๆ การตัดสินว่า
บุคคลผู้นั้นควรถูกคุมขังนั้น ต้องเปิดให้มีการทบทวนและไม่
ควรดำาเนินการต่อเนื่อง เพื่อให้รัฐภาคีสมาชิกสามารถอธิบาย
เหตุผลที่เหมาะสมได้ ๓๓
การกักขัง หมายถึง การพรากเสรีภาพทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะใน
กรณีคดีอาญาหรือกรณีอื่นๆ เช่น การกักขังเพื่อนิเทศศึกษา
การกักขังเนื่องจากปัญหาทางจิต การเร่ร่อนการติดยา หรือ
กักขังเพื่อวัตถุประสงค์ในการส่งตัวหรือเนรเทศ เป็นต้น
สิทธิของผู้ถูกจับกุม หรือ ผู้ถูกคุม กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทาง
ขัง และอยู่ภายใต้การควบคุมตัว การเมือง (ICCPR) ข้อ ๙, สนธิสัญญาหลักการปกป้องบุคคล
ของรัฐ จากการปราศจากการคุมขังหรือหน่วงเนี่ยวในทุกรูปแบบ
(the Body of Principles for the Protection of All persons
under Any Form of Detention or Imprisonment)
ได้บัญญัติถึงสิทธิของผู้ถูกจับกุมไว้ นอกจากนี้ในกฎหมาย
ประมวลวิธีพิจารณาความอาญาของไทยเองก็ได้บัญญัติสิทธิ
ของผู้ถูกจับกุม หรือคุมขังไว้ดด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้น สิทธิของ
ผู้ที่ถูกจับกุมหรือคุมขัง มีดังต่อไปนี้
การละเมิดสิทธินี้เกิดขึ้นเมื่อมีการ v สิทธิในการแจ้งข้อกล่าวหาโดยพลัน ในภาษาที่เขาหรือเธอ
ละเมิดหลักการตามกระบวนการ เข้าใจได้ และมีรายละเอียดที่เพียงพอ
ทางกฎหมายและการละเมิดสิทธิ v สิทธิในการแจ้งญาติให้ทราบถึงรายละเอียดการจับกุมและ
ในเสรีภาพและความปลอดภัยใน สถานที่คุมขัง หากมีการเคลื่อนย้ายการคุมขังจากที่หนึ่ง
ชีวิต ไปยังอีกที่หนึ่ง ครอบครัวหรือญาติต้องรับทราบข้อมูล
ดังกล่าว ดังนั้นการจับกุมคุมขังของรัฐที่ไม่สามารถให้ญาติ
ติดต่อกันได้นั้นถือเป็นสิ่งต้องห้าม
v สิทธิในการได้รับการเยี่ยมจากสมาชิกในครอบครัวของ
เขา/เธอ และร่วมมือกัน สิทธินี้สามารถขึ้นอยู่กับเงื่อนไข
และข้อกำาหนดตามกฎหมาย
๓๑ See, e.g. Concluding Observations Sudan 1998, para [124] (“national security” vague), Philippines 2004,
para. 14 (“vagrancy law” vague), Mauritius 2005, para. 12 (“terrorism law” vague), Russian Federation 2010,
para. 25 (“extremist activity” vague), United Republic of Tanzania 2009, para. 12 (“terrorism law” vague),
Honduras 2007, para. 13(“unlawful association” vague
๓๒ Manfred Nowak, U.N. Covenant on Civil and Political Rights, CCPR Commentary (N.P. Engel, Arlingtong:
1993) at 173
๓๓ 1324/2004, Shafiq v. Australia, para. 7.2