Page 169 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 169
เสียชีวิต สำาหรับขอบเขตที่องค์การสหประชาชาติและองค์การนิรโทษกรรมสากลได้กำาหนด
ขอบเขตของอาชญากรรมที่มิใช่อาชญากรรมร้ายแรงที่สุด (Most Serious Crimes) (International
Commission against the Death Penalty, 2013) ประกอบด้วย
- อ�ชญ�กรรมที่เป็นก�รกระทำ�ต่อคว�มมั่นคงของรัฐ หรือคดีอ�ญ�ที่ร้�ยแรง
ท�งทห�ร
ประเทศที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิตส่วนใหญ่และประเทศส่วนหนึ่งยกเลิกการใช้
โทษประหารชีวิตสำาหรับอาชญากรรมทั่วไป หากแต่ยังคงมีโทษประหารชีวิตไว้สำาหรับการกระทำาผิด
ที่เกี่ยวข้องกับความผิดทางการเมือง ซึ่งรวมทั้งพฤติกรรมการกระทำาผิดที่ละเมิดต่อความมั่นคง
ของประเทศและความสงบเรียบร้อยของสังคม การละเมิดกฎอัยการศึก หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับคดีอาญาที่ร้ายแรงทางทหารในขณะเกิดภาวะสงคราม การก่อการร้าย และการกบฏ โดยส่วนหนึ่ง
เป็นพฤติกรรมการกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียชีวิตโดยเป็นการฆาตกรรมโดยเจตนา
- อ�ชญ�กรรมที่มีผลต่อก�รทำ�ให้ผู้อื่นสูญเสียชีวิต
สำาหรับประเทศที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิต จะมีการใช้โทษประหารชีวิตสำาหรับอาชญากรรม
ที่มีผลทำาให้เสียชีวิต หรืออาชญากรรมในคดีอุกฉกรรจ์ เช่น การลอบวางเพลิง การทำาร้ายร่างกาย
จนได้รับบาดเจ็บสาหัส การลักขโมยหรือปล้นจี้โดยทำาให้ผู้อื่นเสียชีวิต อาชญากรรมเหล่านี้ไม่เป็น
อาชญากรรมร้ายแรงเนื่องจากการเสียชีวิตอาจไม่ได้เกิดจากการตั้งใจก็ได้
- ในบ�งประเทศก�รกระทำ�ผิดที่เกี่ยวข้องกับย�เสพติด
การกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่อาจได้รับโทษประหารชีวิต รวมถึง
การครอบครอง การผลิต การค้ายาเสพติด หรือการใช้สารเสพติดผิดกฎหมาย ซึ่งการต้องโทษ
ประหารชีวิตจะขึ้นอยู่กับประเภทและปริมาณของสารเสพติดที่กระทำาผิด
ในขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มีข้อจำากัดต่อการใช้โทษประหารชีวิต คือ จะต้องใช้
สำาหรับอาชญากรรมร้ายแรง อย่างไรก็ตาม ยังคงมีการประยุกต์ใช้โทษประหารชีวิตสำาหรับ
อาชญากรรมร้ายแรงที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ทั่วโลกมีแนวโน้ม
ยกเลิกโทษประหารชีวิตทั้งที่เป็นการยกเลิกในทางกฎหมายหรือในทางปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม
หากประเทศต่าง ๆ ที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิตจะมีการบังคับใช้โทษประหารชีวิตสำาหรับอาชญากรรม
ร้ายแรง ซึ่งเป็นการกระทำาผิดที่เป็นการฆาตกรรมโดยเจตนาหรือการกระทำาที่ทำาให้ผู้อื่นเสียชีวิต
เป็นสำาคัญ
อ�ชญ�กรรมร้�ยแรงที่สุด (Most Serious Crime) ในประเทศไทย
แม้ว่ารัฐธรรมนูญของประเทศไทยจะไม่ได้กำาหนดให้มีการใช้โทษประหารชีวิตโดยตรง
รวมทั้งจากแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ ที่มีวัตถุประสงค์ต้องการเปลี่ยนโทษประหารชีวิต
เป็นโทษจำาคุกตลอดชีวิต จากประมวลกฎหมายอาญาปรากฏว่ามีการกำาหนดโทษประหารชีวิตไว้
156 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ