Page 106 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 106
105
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวอย่าง ตัวชี้วัดสิทธิในการมีมาตรฐานอย่างเพียงพอในการดำารงชีวิต
ในรายงาน Human Rights Measurement Framework นั้น กล่าวถึง กรอบ
สิทธิในการมีมาตรฐานอย่างเพียงพอในการดำารงชีวิตไว้ในบทที่ ๑๒ โดยใน ข้อบทที่ ๒๗ ของอนุสัญญา
ว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child : CRC) และข้อบทที่ ๑๑ ของกติกา
ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on
Economic, Social and Cultural Rights : ICESCR) เป็นเกณฑ์
สาระแห่งสิทธิ ประกอบด้วย
๑) สิทธิในอาหาร
๒) สิทธิในเรื่องที่อยู่อาศัย
๓) สิทธิในเรื่องรายได้และสวัสดิการอย่างเพียงพอ
๔) สิทธิในความจำาเป็นพื้นฐานอื่นๆ
ต�ร�งที่ ๗ ตัวชี้วัดสิทธิในการมีมาตรฐานอย่างเพียงพอในการด�ารงชีวิตของสหราชอาณาจักร
(A) ตัวชี้วัดโครงสร้�ง (B) ตัวชี้วัดกระบวนก�ร (C) ตัวชี้วัดผลลัพธ์
- มีกฎหมายเกี่ยวกับการให้สัตยาบัน - มีกรอบเชิงกฎระเบียบ มีหน่วยงาน - ผลจากกระบวนการทางศาล กฎ
แก่ความตกลงระหว่างประเทศ กำากับดูแล ผู้ตรวจการ ระเบียบ และกระบวนการสืบสวน
ที่เกี่ยวข้อง - มีการกำาหนดอำานาจหน้าที่ มีกรอบ สอบสวนหากมีกรณีเกิดขึ้น แสดง
- มีคำาพิพากษาสร้างหลักการที่สำาคัญ มาตรฐานขั้นต่ำาแห่งชาติและการ ในรูปของการละเมิดหรือไม่
ตรวจสอบ การรับเรื่องราวร้องทุกข์ - ดูที่ผลของคดีว่าส่งผลกระทบต่อ
กรอบเชิงนโยบายสาธารณะ สิทธิมนุษยชนในเรื่องนั้นๆ
- มีกฎหมาย นโยบาย แผน เป้าหมาย - ปรากฏข้อห่วงใยสำาคัญที่หน่วยงาน
- มีประมวล ระเบียบ ข้อแนะนำา ที่ดำาเนินงานด้านการตรวจสอบ
- มีข้อมูล ข้อสนเทศแสดงให้เห็นถึง ด้านสิทธิมนุษยชนได้หยิบยกขึ้น
การให้ความสำาคัญสูงในการจัดสรร
ทรัพยากร - หรือผลของการสอบสวน ระเบียบ
และระเบียบการดำาเนินการตาม
คำาร้องเรียน (รวมทั้งคำาพิพากษา
ในคดีที่สร้างหลักการเรื่องการละเลย
ไม่ดำาเนินการทำาให้เสื่อมเสีย
ซึ่งสิทธิในความจำาเป็นพื้นฐาน)
- ผลกระทบของอนามัยอาหาร
กระบวนการตรวจสอบคุณภาพ
การตรวจสอบภายในที่ส่งผล
ในกรณีขององค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น
ในการดำาเนินงานด้านอาคาร
สงเคราะห์