Page 105 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 105

104


       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


                        (A) ตัวชี้วัดโครงสร้�ง    (B) ตัวชี้วัดกระบวนก�ร       (C) ตัวชี้วัดผลลัพธ์


                   - หลักการที่สร้างขึ้นในคดีสำาคัญๆ   ตัวชี้วัดที่ ๖๔    - มีการตรวจสอบ  และผลการ
                     ทั้งในระบบศาลภายในและศาล  - มีกรอบเชิงนโยบายสาธารณะ   ตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบอิสระ
                     สิทธิมนุษยชนยุโรป และกระบวนการ  - มีกฎหมาย นโยบาย แผน เป้าหมาย  หรือไม่
                     กำาหนดมาตรฐานในระดับระหว่าง                          - มีข้อกล่าวหาที่สำาคัญที่บุคคลใดหรือ
                     ประเทศ                    - มีประมวล ระเบียบ ข้อแนะนำา  องค์กรประชาสังคมได้เคยนำาเสนอ
                   - ช่องว่างของการคุ้มครองสิทธิและ  - มีข้อมูล ข้อสนเทศ แสดงให้เห็นถึง  สู่สาธารณะผ่านสื่อสารมวลชน
                     การไม่ดำาเนินการตามคำาพิพากษา  การให้ความสำาคัญสูงในการจัดสรร   หรือสื่อสาธารณะหรือไม่
                     และคำาแนะนำาที่เกี่ยวข้องต่างๆ  ทรัพยากร
                                                                           ตัวชี้วัดที่ ๖๖
                                                                          - สถิติที่สำาคัญที่ชี้ในเรื่องความไม่
                                                                           เท่าเทียมกันในความสัมฤทธิผล
                                                                           ทางการศึกษา
                                                                          - ร้อยละของบุคคลที่ไม่มีทักษะ
                                                                           อย่างเพียงพอในระดับอ่านออก
                                                                           เขียนได้ นับจำานวน และคิดเลข
                                                                           เป็นต้น
                                                                          - ความสำาเร็จใน GCSE และเทียบเท่า
                                                                          - จำานวนนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย
                                                                           ที่สามารถผ่านขึ้นมาศึกษาจาก
                                                                           ผู้สำาเร็จการศึกษาในโรงเรียนยากจน
                                                                           ที่ต้องสงเคราะห์อาหารการบริโภค
                                                                          - สถิติที่สำาคัญที่ชี้เรื่องการตกหล่น
                                                                           ทางการศึกษา และการเข้าถึงการศึกษา
                                                                           อบรม และผลสัมฤทธิ์ของเด็กกลุ่ม
                                                                           เสี่ยงและกลุ่มด้อยโอกาส
                                                                          - สถิติช่องว่างการศึกษาสำาหรับเด็กที่
                                                                           เคยรับการดูแลโดยสถานสงเคราะห์
                                                                           ว่าสามารถศึกษาต่อจนจบในขั้นสูงขึ้น
                                                                           ต่อไปหรือไม่

                                                                          - ร้อยละของผู้เคยต้องขังที่ได้กลับ
                                                                           เข้าทำางานในระบบการจ้างแรงงาน
                                                                           หรือเข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ หรือ
                                                                           ทักษะเฉพาะสาขา หรือการศึกษา
                                                                           หรือโครงการปรับพฤติกรรม
                                                                          - คนเร่ร่อนที่ออกจากการเรียน
                                                                           ระหว่างที่ยังไม่จบชั้น
                                                                          - การถูกกันออกจากการศึกษา

                                                                          - ความเท่าเทียมของการเข้าถึง
                                                                           การศึกษา
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110