Page 44 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 44
บทที่ 1
บทน า
1.1 ความส าคัญของปัญหา
ั
ด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเล็งเห็นถึงปญหาของระบบงานและ
กระบวนการการท างานเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของส านักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตั้งแต่ขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน การหาข้อเท็จจริง การ
ท าความเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อเสนอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา ทั้งระบบ
ค่อนข้างล่าช้า ไม่ทันต่อเหตุแห่งการละเมิดผู้เดือดร้อน หรือเสียหายไม่ได้รับการเยียวยาเท่าที่ควร
นอกจากนี้ เมื่อรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนได้แจ้งไปยังผู้เกี่ยวข้อง ทั้งที่
ั
เป็นบุคคลหรือหน่วยงานซึ่งต้องด าเนินการตามมาตรการการแก้ไขปญหาก็ไม่ค่อยได้รับความ
ั
สนใจหรือตอบสนองที่จะด าเนินการตามมาตรการการแก้ไขปญหาที่ก าหนด ระบบงานและ
กระบวนการการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนจึงไม่อาจสนองตอบต่อความคาดหวังของ
ั
ประชาชนที่มีต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ เนื่องจากอาจมีปญหาในเชิงโครงสร้าง
ระบบงาน และกลไกในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งในแง่ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
คณะกรรมการสิทธิฯ จึงจัดให้มีการด าเนินโครงการวิจัยขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลส าหรับน าไป
พัฒนาปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ดังข้างต้นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และได้มอบหมายให้
ศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน (ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน)
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ รับผิดชอบด าเนินโครงการ “การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงาน
และกระบวนการการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน”
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.2.1 เพื่อประเมินศักยภาพและศึกษาระบบงาน รูปแบบ และกระบวนการตรวจสอบการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
1.2.2 เพื่อจัดท าความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายว่า
ด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในส่วนการตรวจสอบและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เพื่อให้ได้ระบบการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
- 1 -