Page 260 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 260
ข้อ 13. คณะกรรมการประจ ากระทรวงมีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. ควบคุมอ านวยการตรวจสอบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของส่วนราชการภายในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบายและแผน
เกี่ยวกับการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามข้อ 9
2. วินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ของส่วนราชการภายในกระทรวงตามระเบียบนี้
3. มีหนังสือสอบถามหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มี
หนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงหรือให้ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐหรือของ
เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องหรือให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องส่งวัตถุเอกสารหรือพยานหลักฐาน
อื่นที่เกี่ยวข้องหรือส่งผู้แทนหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐนั้นมาชี้แจงข้อเท็จจริงหรือให้
ความเห็นประกอบการพิจารณาได้
4. รายงานผลการสั่งการของรัฐมนตรีตามระเบียบนี้พร้อมทั้งเสนอวิธีการที่
รัฐมนตรีควรสั่งการต่อไปในกรณีที่การปฏิบัติงานยังไม่เป็นผล
5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานหรือปฏิบัติงานตามที่
คณะกรรมการประจ ากระทรวงมอบหมาย
ั
6. พิจารณาวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับอ านาจหน้าที่ระหว่างส่วนราชการภายใน
กระทรวง
7. ปฏิบัติการอื่นใดตามระเบียบนี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
พันศักดิ์ เจริญ (2552 : 33-39) กล่าวถึง อ านาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2549 ดังนี้
1. ด าเนินการเกี่ยวกับการร้องทุกข์ร้องเรียนขอความเป็นธรรมและการขอความช่วยเหลือ
ั
ที่มีผู้ยื่นค าร้องต่อนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรีรวมทั้งปญหาความเดือดร้อนอื่นของ
ประชาชน
2. ให้ค าแนะน าเกี่ยวกับกฎหมายและการด าเนินคดีแก่ประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือ
และขอค าแนะน าจากนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรี
ั
3. ประสานงานเพื่อแก้ไขปญหาและอ านวยความสะดวกแก่มวลชนที่มาพบหรือชุมนุม
ร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรี
ั
4. ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนในพื้นที่เพื่อแก้ปญหาส าคัญที่เป็นกรณีเร่งด่วน
5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่
ได้รับมอบหมาย
- 215 -