Page 218 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 218
พิจารณา จ านวน 46 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 9.48 โดยไม่รับไว้พิจารณาเนื่องจากเป็นเรื่องที่เป็น
้
ประเด็นเดียวกันที่มีการฟองคดีต่อศาลตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 สูงที่สุด จ านวน 28 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 43.75 นอกจากนี้ ยังมีการ
ส่งต่อให้องค์กรอื่นที่มีอ านาจหน้าที่พิจารณาแก้ไขน้อยที่สุด จ านวน 13 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 1.43
ในส่วนของการยุติการตรวจสอบ/ ยุติเรื่อง จ านวน 461 เรื่องนั้น พบว่าเป็นการยุติการตรวจสอบ
้
เนื่องจากเป็นประเด็นเดียวกันกับที่มีการฟองคดีต่อศาล สูงที่สุด จ านวน 203 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ
ั
44.03 และรองลงมา เป็นการยุติการตรวจสอบ/ ยุติเรื่อง เนื่องจากได้รับการแก้ไขปญหาแล้ว
จ านวน 102 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 22.13
ตารางที่ 5.8 แสดงจ านวนร้อยละของผลการพิจารณา/ ตรวจสอบเรื่องร้องเรียน
ปีงบประมาณ 2552
ผลการพิจารณา/ ตรวจสอบเรื่องร้องเรียน จ านวน (เรื่อง) ร้อยละ
1) ไม่รับไว้พิจารณา เนื่องจาก 64 9.48
-ผู้ร้องถอนเรื่อง (8) (12.50)
ั
-ได้รับการแก้ไขปญหาแล้ว (3) (4.69)
-ไม่มีข้อมูล / ข้อมูลไม่เพียงพอ (7) (10.94)
-ไม่พบประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน (10) (15.63)
-ไม่อยู่ในอ านาจหน้าที่ (8) (12.50)
้
-เป็นประเด็นเดียวกันกับที่มีการฟองคดีต่อศาล ตามมาตรา 22 (28) (ผ43.75)
2) ส่งต่อให้องค์กรอื่นที่มีอ านาจหน้าที่พิจารณาแก้ไข 13 1.93
3) ด าเนินการไกล่เกลี่ยในกรอบการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 30 4.44
4) ยุติการตรวจสอบ /ยุติเรื่อง เนื่องจาก 461 68.30
-ผู้ร้องถอนเรื่อง / ไม่ติดใจ (29) (6.29)
-ไม่มีมูล / ข้อมูลไม่เพียงพอ (34) (7.38)
-ไม่พบประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน (93) (20.17)
ั
-ได้รับการแก้ไขปญหาแล้ว (102) (22.13)
้
-เป็นประเด็นเดียวกันกับที่มีการฟองคดีต่อศาล ตามมาตรา 22 (203) (44.03)
5) มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน / มีการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมและเสนอ
ั
มาตรการการแก้ไขปญหา 107 15.85
รวมทั้งสิ้น 675 100.00
- 173 -