Page 15 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 15
2.2 ขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน
ขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน
ปัญหา แนวทางแก้ไข
ั
1) ขั้นตอนการพิจารณารับเรื่องร้องเรียนปจจุบัน ต้องผ่านขั้นตอนตั้งแต่ 1. ด้านการกระจายอ านาจ
ส านักงาน ไปสู่อนุกรรมการ (กลั่นกรอง) และกรรมการ กสม. ส่งผลให้ ข้อเสนอแนะคือการลดขั้นตอนให้มีความกระชับ แต่ยังคงมาตรฐานการพิจารณาไว้ ดังนี้
การมีความล่าช้ากว่าจะได้เข้าสู่กระบวนการตรวจสอบ 1) ควรมีการกระจายอ านาจให้กับส านักงานเป็นผู้รับเรื่อง และท าการพิจารณาคัดกรองเรื่องเบื้องต้น โดย
ั
2) ขอบเขตของการรับเรื่องร้องเรียน ปจจุบันค่อนข้างกว้าง และขาด ก าหนดให้ผู้อ านวยการส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นผู้พิจารณา บริหารจัดการ
ั
ความชัดเจน อันเนื่องจากปญหาการตีความเกี่ยวกับ “สาระของค า 2) ส านักงานเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสมในการจัดทีมงานตรวจสอบตามประเภทการละเมิด เพื่อสนับสนุน
ร้อง” หรือกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอ านาจรับไว้ การตรวจสอบของคณะอนุกรรมการแต่ละด้าน เพื่อสร้างระบบการกระจายงานให้เหมาะสม มีมาตรฐาน
พิจารณาตรวจสอบ รวมทั้งกรณีคาบเกี่ยว ( เป็นเรื่องที่อยู่ในอ านาจ ตามปริมาณ ความซับซ้อนและประเภทงาน
หน้าที่ของหน่วยงานอื่น ที่มีประเด็นสิทธิมนุษยชนคาบเกี่ยวอยู่ด้วย) 2. พัฒนาคู่มือมาตรฐานการท างาน (SOP)
ั
หรือการร้องเรียนกรณีปญหาที่ยังไม่เกิด ฯลฯ เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยควบคุมให้มีแนวทางด าเนินการ และพิจารณาเรื่องร้องเรียนที่เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน ก่อนน าเสนอยังผู้อ านวยการส านัก ทั้งนี้โดยค านึงถึงองค์ประกอบส าคัญๆ ทั้งด้านรูปแบบ เนื้อหา
ระยะเวลา ดังนี้
1) องค์ประกอบการร้องเรียน และข้อมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณา
2) ระบบการลงทะเบียน และการออกหมายเลขค าร้อง เช่นอาจก าหนดให้มีการลงทะเบียนส าหรับการรับ
เรื่อง / หนังสือร้องเรียน รวมถึงระบบฐานข้อมูล จากนั้นหากพิจารณาโดยผู้รับผิดชอบแล้ว มีประเด็น
ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ให้น าไปออกหมายเลขค าร้อง
- ฌ -