Page 145 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 145
เลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ แผนปฏิบัติการ ก าหนดกิจกรรมผ่านทางสถาบันชาติ ความ
ร่วมมือระหว่างประเทศ การเคลื่อนไหวทางสังคม การปฏิรูปกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย การ
ฝึกอบรม และการตรวจสอบแผนฯ ก าหนดให้แต่งตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเพื่อ
เป็นองค์กรปรับใช้และด าเนินกิจกรรมตามแผนฯ ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รัฐและผู้แทนชุมชน
แผนปฏิบัติการได้รับการประเมินอย่างเป็นประจ าและระบุว่าประเด็นสิทธิมนุษยชนที่ไม่ได้รับการ
ั
คุ้มครองโดยแผนฯ ฉบับปจจุบันจะได้รับการแก้ไขหลังจากการประเมิน การอนุวัติในช่วงต้น ๆ
แล้ว (แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งอินโดนีเซีย อ้างถึงในกรมคุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพ 2555)
4.4.4 โครงสร้างและการบริหารองค์กร
โครงสร้างของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนอินโดนีเซียได้รับการเลือกตั้งโดยองค์เซสชัน
ในส่วนของคณะกรรมาธิการ ประกอบด้วย ประธาน 1 คน รองประธาน 2 คน และสมาชิก 25 คน
ส าหรับโครงสร้างองค์กรกองเลขาธิการ ประกอบด้วย เลขาธิการ เป็นผู้ดูแลสูงสุด และแบ่งเป็น 4
ส านัก ได้แก่
1. ส านักแผนงานและความร่วมมือ (Bureau of planning and cooperation)
ประกอบด้วย
- กองแผนงาน
- กองพิจารณาคดีมาตราและความร่วมมือ
2. ส านักทั่วไป Bureau ประกอบด้วย
- กองอุปกรณ์เครื่องมือ (Household equipment and parts)
- กองส่วนข้าราชการ (Kepagawaian parts and Organizations)
่
- ฝายการเงิน (Kepagawaian parts and Organizations)
้
3. ส านักปองปรามการละเมิดสิทธิมนุษยชน
- กองบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน (Administrative Complaint Handling)
- การตรวจสอบการบริหารและการสอบสวน (Administration Monitoring
Investigation)
- การบริหารการไกล่เกลี่ย (Mediation Administration)
4. ส านักบริหารสิทธิมนุษยชน
- การประเมินผลการบริหารและการวิจัย (Assessment Administration and
research)
- การจัดการ (Administration section extension)
- 101 -