Page 149 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 149
4.4.9 การตรวจสอบ และไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ในด้านของการตรวจสอบ Komnas HAM มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. การตรวจสอบการด าเนินการด้านสิทธิมนุษยชนและการท ารายงานผลการสังเกต
2. สืบสวนและตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซึ่งโดยธรรมชาติหรือขอบเขตอาจจะมี
เหตุผลที่จะเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นได้
3. เรียกตัวผู้ร้องเรียนหรือผู้ที่ตกเป็นเหยื่อและผู้ที่เป็นอาสาสมัครของการร้องเรียนที่
จะท าข้อมูล
4. เรียกตัวพยานเพื่อมาให้ปากค าและร้องขอให้เป็นพยานผู้ร้องทุกข์ที่จะส่งหลักฐาน
ที่จ าเป็น
5. ท าการส ารวจสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์และที่อื่น ๆ ตามความจ าเป็น
่
6. เรียกร้องให้ฝายที่เกี่ยวข้องให้ข้อความเป็นลายลักษณ์อักษรหรือส่งเอกสารที่
จ าเป็นให้สอดคล้องกับต้นฉบับ
่
่
7. เข้าตรวจสอบ บ้าน สวน หรือ สถานที่อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือมีฝายใดฝายหนึ่งที่
เกี่ยวข้องเป็นเจ้าของอยู่
การไกล่เกลี่ย
ในด้านของการไกล่เกลี่ย Komnas HAM มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
่
1. ส่งเสริมให้มีการเจรจาประนีประนอมกันอย่างสงบระหว่างคู่กรณีทั้งสองฝาย
ั
2. การแก้ปญหาโดยวิธีการของการให้ค าปรึกษาการ เจรจาต่อรอง ไกล่เกลี่ยข้อ
พิพาท และการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ
ผลการไกล่เกลี่ยจะตัดสินโดยการเห็นพ้องกันของบุคคลที่เกี่ยวข้องในกรณีความขัดแย้ง
ผลการไกล่เกลี่ยจะเป็นผลผูกพันตามกฎหมาย ในกรณีที่ผลการไกล่เกลี่ยจะไม่ได้รับการปฎิบัติ
่
่
โดยฝายใดฝายหนึ่งภายในระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในข้อตกลงศาลสามารถเรียกให้บังคับใช้
ข้อตกลงดังกล่าวได้ ในกรณีที่ บุคคลที่เกี่ยวข้องไม่เต็มใจที่จะให้ความร่วมมือในขั้นตอนการไกล่
เกลี่ย Komnas HAM มีอ านาจในการส่งข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ความ
สนใจพวกเขาในกรณีนี้ และกรณีที่การช าระเงินนอกศาลของผู้ที่ด้อยโอกาส Komnas HAM จะให้
ความช่วยเหลือเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายในการยื่นคดีไปสู่ศาล
- 105 -