Page 143 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 143

องค์ประกอบและที่มาของคณะกรรมการ

                         คณะกรรมการประกอบด้วย 35 คน คัดเลือกโดยสภาผู้แทนราษฎรอินโดนีเซีย และอนุมัติ

                  โดยประธานาธิบดี เมื่อคัดเลือกเสร็จจะจัดตั้งคณะกรรมาธิการ ซึ่งจะมีประธาน 1 คน และรอง

                  ประธาน 2 คน เลือกมจากคณะกรรมการทั้ง 35 คน มีระยะเวลาด ารงต าแหน่งจ านวน 5 ปี จะมีอีก

                  หนึ่งต าแหน่งที่มาจากการคัดเลือก คือ เลขาธิการ ซึ่งจะต้องไม่ใช่หนึ่งในคณะกรรมการ มีหน้าที่

                  ดูแลด้านงานอ านวยการ และส่งเสริมการด าเนินงานของคณะอนุกรรมการทั้ง 4 คณะ ได้แก่
                         1. คณะอนุกรรมการด้านวิชาการและการศึกษา มีหน้าที่ให้ความรู้ ข้อมูล และสร้างการ

                  ตระหนักด้านสิทธิมนุษยชน ผ่านช่องทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบ อีกทั้งร่วมมือกับ

                  หน่วยงาน เครือข่าย องค์กรต่างๆ ทั้งระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ

                         2. คณะอนุกรรมการด้านงานวิจัย และการประเมิน มีหน้าที่ในการประเมิน จัดท างานวิจัย

                                                                    ้
                  การศึกษาต่างๆ การประเมินเกี่ยวกับแนวทางในการปองกัน การบังคับใช้กฎหมาย และการ
                  ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กร และ

                  สถาบันอื่นๆ ทั้งระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ
                         3. คณะอนุกรรมการด้านการควบคุมและตรวจสอบ มีหน้าที่ในการตรวจสอบเรื่อง

                  ร้องเรียนทั้งกระบวนการ ตั้งแต่รวบรวมข้อมูล ไต่สวน ตรวจสอบ พิจารณา สรุปผล และร่าง

                  ข้อเสนอแนะ

                         4. คณะอนุกรรมการไกล่เกลี่ย มีหน้าที่แนะน า ให้ค าปรึกษาแนวทางการยุติความขัดแย้ง

                           ่
                  ให้แก่ทุกฝายโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการศาล อย่างไรก็ตามจะมีการรายงานผลการด าเนินงานไป
                  ยังสภาผู้แทนราษฎรอีกด้วย



                         4.4.3 อ านาจหน้าที่/ขอบเขตความรับผิดชอบ

                         การเปิดตัวแผนปฏิบัติการ ได้ด าเนินการโดยประธานาธิบดีอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 25

                  มิถุนายน ปี พ.ศ. 2541 ซึ่ง เป็นโอกาสครบรอบ 5 ปีการรับรองปฏิญญาและแผนปฏิบัติการ

                  เวียนนา ในถ้อยแถลงตอนที่ประธานาธิบดีประกาศใช้แผนฯ ประธานาธิบดีกล่าวว่า “กุญแจสู่
                  ความส าเร็จอยู่ที่การวางรากฐานและการสร้างความเข้มแข็งให้กับวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชน” และ

                  กล่าวเพิ่มเติมว่า “ความหมายที่แท้จริงของแผนฯ อยู่ที่การน าไปปรับใช้” แผนฯ เป็นเอกสารที่มี

                  คุณค่าและประโยชน์อย่างมาก ซึ่งครอบคลุมช่วงเวลา ปี พ.ศ. 2541 - 2546 โดยแผนฯ เริ่มจาก

                  อารัมภบทซึ่งกล่าวถึงประเด็นสิทธิมนุษยชนในบริบทของอินโดนีเซีย ความเป็นสากล และการ

                                                                                         ั
                  แบ่งแยกไม่ได้ของสิทธิมนุษยชน รวมทั้งสมดุลระหว่างสิทธิชุมชนและสิทธิของปจเจกบุคคล และ
                  สมดุลระหว่างสิทธิและความรับผิดชอบ แผนปฏิบัติการ ประกอบด้วยส่วนที่อธิบายมาตรการ


                                                          - 99 -
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148