Page 74 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 74

52


                                                                                                       118
                                                                        117
               แมแตในอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผา หรือการเลือกผูชวยผูใหญบาน  หรืออาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
               การสมัครเขากลุมฌาปนกิจสงเคราะห หรือรวมกลุมเพื่อกูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
                                                                              119
               การเกษตร (ธกส.) ในบางพื้นที่ โรงเรียนสอนนวดแผนไทย รานขายของฝาก  ก็อางเหตุผลเรื่องสถานะการ
               ติดเชื้อเอชไอวีในการกีดกันผูติดเชื้อออกไปดวย อยางไรก็ดี เนื่องจากผูเขารวมสนทนากลุมในครั้งแรก เปน
               แกนนําผูติดเชื้อเอชไอวีซึ่งมีประสบการณในการขับเคลื่อนเพื่อแกไขปญหาการถูกละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อ
               เอชไอวี การใหขอมูลเรื่องสถานการณการเลือกปฏิบัติ จึงมีน้ําหนักนอยกวาการวิเคราะหสาเหตุการเลือก

               ปฏิบัติและแนวทางการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีซึ่งจะนําเสนอในสวนตอๆ ไป
                       อยางไรก็ดี แมวาการสนทนากลุมครั้งแรก จะไมสามารถใหสถานการณการเลือกปฏิบัติในการ
               ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อไดชัดเจนนัก แตการสนทนากลุมผูติดเชื้อ ครั้งที่ 2 ซึ่งจัดขึ้นในพื้นที่ สามารถให
               ภาพการเลือกปฏิบัติไดชัดเจนกวา โดยเฉพาะที่เปนการเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้นในระดับชุมชน โดยเปนที่นาสนใจ

               วา แมวาผูติดเชื้อจํานวนหนึ่งขาดโอกาสในทํางานในระบบ และหันมาเปนแรงงานนอกระบบ เพื่อหลีกเลี่ยง
               กระบวนการตรวจเลือดของสถานประกอบการ และกลับมาอยูในชุมชน อาชีพของพวกเขาไดแก การเปน
               แรงงานรับจางในชุมชน การประกอบกิจการรานคา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และประกอบธุรกิจสวนตัว
                                                                                          120
               ผูติดเชื้อจํานวนหนึ่ง ก็ยังประสบปญหาการเลือกปฏิบัติในระดับชุมชน กรณีที่นาสนใจไดแก
                       กรณีที่ 1 การเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อที่ขายอาหาร ในระยะแรกๆ เมื่อลูกคาทราบสถานะของผูติดเชื้อ
               ทําใหลูกคาไมซื้ออาหารที่ผูติดเชื้อทําขาย เพราะเกรงวาจะติดเชื้อจากอาหาร และรังเกียจสภาพรางกายของ
               ผูติดเชื้อ อยางไรก็ดี เมื่อผูติดเชื้อสามารถพิสูจนตนเองวา ตนเองไมเจ็บปวยและไมไดมีสภาพที่นารังเกียจ

               ประกอบกับ มีการพยายามทําความเขาใจจากเครือขายผูติดเชื้อกับประชาชนคนอื่นๆ ในชุมชน ทําใหผูติดเชื้อ
               สามารถขายอาหารไดจนถึงปจจุบัน
                       กรณีที่ 2 ผูติดเชื้อที่ตัดสินใจทําธุรกิจเพาะเห็ดขาย ในระยะแรกๆ ลูกคาไมซื้อเห็ดจากผูติดเชื้อรายนี้
               เพราะเกรงวาจะมีการปนเปอนเชื้อเอชไอวีในระหวางเก็บเห็ด เมื่อผูติดเชื้อ พยายามทําความเขาใจกับคนใน
               ชุมชนถึงชองทางในการติดตอ และแสดงใหเห็นวา ตนเองไมไดอยูในภาวะเจ็บปวยจนเปนที่นารังเกียจ ทําให
                                       121
               สามารถขายผลผลิตไดตอไป
                       กรณีที่ 3 ผูติดเชื้อที่เปนแรงงานรับจางในชุมชน ในระยะแรก เนื่องจากภาวะความเจ็บปวย ทําใหไม
               คอยมีคนมาจางทํางาน ตอเมื่อสุขภาพดีขึ้น จึงมีคนมาจางทํางาน และเมื่อตนเองแสดงใหเห็นวา สามารถ

               ทํางานไดเชนเดียวกับคนอื่นๆ หนึ่งในกรณีนั้นเปนผูรับเหมาที่ติดเชื้อเอชไอวี ก็สามารถทํางานไดตามปกติ
                       กรณีที่ 4 ผูติดเชื้อที่เคยทํางานเปนหมอนวดแผนไทยในรานนวดแผนไทย เมื่อรูตัววาติดเชื้อ ก็เปน
               ฝายลาออกมารักษาตัว และเมื่อสุขภาพดีขึ้น ไดกลับมาเปดบริการรานนวดของตนเอง โดยไมไดแจงลูกคา
               ทั่วไปวาตนเองติดเชื้อ เธอเลาใหฟงวา เคยบอกลูกคาบางคนที่มีความสนิทสนม ปรากฏวาลูกคาบางคนก็ไมเชื่อ




               117
                 กรณีผูชวยผูใหญบาน มี 2 กรณี กรณีแรก ยอมใหมีการแตงตั้งเพราะประชาชนเลือกเขามา และกรณีที่สอง เปนการยอมให
               ทํางาน แตแตงตั้งโดยใชชื่อคนอื่น (การสนทนากลุมผูติดเชื้อ ครั้งที่ 1, 14 มกราคม 2556) อยางไรก็ดี เมื่อคณะผูวิจัย
               ตรวจสอบ โรคตองหามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา ก็ไมพบวากําหนดใหโรค
               เอดสเปนโรคตองหามแตอยางใด
               118
                 กรณี อสม. ผูติดเชื้อระบุวา มีระเบียบ อสม. ขอ 63 กําหนดไววา ผูปวยรายแรงไมสามารถมาเปน อสม.ได (การสนทนากลุม
               ผูติดเชื้อ ครั้งที่ 1, 14 มกราคม 2556) แตเมื่อผูวิจัยตรวจสอบระเบียบ อสม.แลว ไมปรากฏขอกําหนดดังกลาวแตอยางใด
               119
                 การสนทนากลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ครั้งที่ 2, 27 มกราคม 2556
               120 การสนทนากลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ครั้งที่ 2, 27 มกราคม 2556
               121 การสนทนากลุมผูใกลชิดผูติดเชื้อ, หองประชุมโรงพยาบาลทาใหม จ.จันทบุรี, 27 มกราคม 2556
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79