Page 77 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 77

55


                                                                                   131
               ของรัฐ  เอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานเกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวี  ประกอบการสัมภาษณ
               นายจางประกอบ

                       สําหรับการสนทนากลุมในกลุมนายจาง ใชการสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ ซึ่งเลือกผูเขารวม
               สนทนากลุม โดยใชวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเพื่อใหไดผูที่สามารถใหขอมูลไดอยางชัดเจนในเรื่องนั้นๆ
               และในกระบวนการสนทนากลุมนี้จะมีขั้นตอนดังนี้
                       -  เริ่มจากการตั้งคําถามเบื้องตนถึงสภาพปญหา สาเหตุและปจจัยที่กอใหเกิดการเลือกปฏิบัติในการ

                          ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ และผลกระทบที่เกิดขึ้น
                       -  ใหขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับการแพรกระจายและการติดเชื้อเอชไอวีมาตรฐานสากลของการ
                          คุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
                       -  ยอนกลับมาใหผูเขารวมสนทนาใครครวญ ถกแถลงถึงคําถามเดิมและตอบคําถามอีกครั้ง

                       -  รวมกันพัฒนาขอเสนอที่เปนทางออกสําหรับปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของ
                          ผูติดเชื้อ

                       จากการเก็บขอมูลทั้งหมด พบวา สาเหตุสําคัญของการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ

               มีดังนี้
                       (1) การขาดความรูที่ถูกตองของนายจาง และคนรอบขางตอชองทางการติดเชื้อเอชไอวี ทําให
               นายจางในกิจการประเภทที่เกี่ยวของกับอาหาร และการบริการ กลัว และตั้งขอรังเกียจ โดยอางวา เกรงวาจะ

               ไปแพรเชื้อกับผูอื่น ดังจะเห็นไดจากในกรณีของแมน ที่สามารถกลับมาทํางานในบริษัท (แม) บริษัทเดิม โดย
               ทํางานในกิจการที่ไมเกี่ยวของกับอาหาร นอกจากนี้ นายจางบางสวน ยังขาดความรูในเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับ
               สิทธิและการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายไทย โดยนายจางบางแหงที่เคยมีการเลือกปฏิบัติยอมรับวา เปนเพราะ
                               132
               ไมรูวาผิดกฎหมาย
                       (2) ความเขาใจที่วา “เอดส เปนแลวตาย รักษาไมได” ทําใหนายจางจํานวนหนึ่ง เกรงวา การจางผู
                                                                                    133
               ติดเชื้อไปทํางานแลวจะไมคุมคา เพราะเกรงวาผูติดเชื้อจะเจ็บปวยและลางานบอยๆ และในบางกรณี ก็เชื่อ
               วาผูติดเชื้อเอชไอวีมีขีดจํากัดในการทํางานอันเนื่องมาจากปญหาสุขภาพ ทําใหอาจจะไมคุมทุน โดยเฉพาะถามี
               การลงทุนพัฒนาบุคลากรแลวผูติดเชื้อไมสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ ทั้งยังรวมไปถึงคาใชจายที่

               นายจางตองจายใหเปนสวัสดิการในสวนที่เพิ่มเติมจากสิทธิประกันสังคม เชน เงินชดเชยกรณีออกจากงาน การ
                             134
               เสียชีวิต เปนตน ทั้งๆ ที่ในปจจุบันมีความกาวหนาในการรักษา ทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีสามารถดํารงชีวิตอยูได
               ตามปกติ แตความพยายามในการแกไขมายาคติดังกลาวก็ยังไมเพียงพอที่จะสรางทัศนคติที่ดีได










               131
                  การสนทนากลุมเจาหนาที่ของรัฐ เอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานเกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวี 1 มีนาคม 2556
               132
                 การสนทนากลุมนายจาง/เจาของสถานประกอบการ, 14 มีนาคม 2556
               133 ทัศนะเชนนี้ ไดรับการยืนยันจากการสัมภาษณผูจัดการฝายบุคคลของบริษัทมหาชนแหงหนึ่ง, 17 กรกฎาคม 2556
               134 เจาของดีลเลอรธุรกิจขายรถยนตแหงหนึ่ง (ไมเปดเผยชื่อ), สัมภาษณ, 7 พฤศจิกายน 2556
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82