Page 59 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 59

37


                              แรงงานกลุมดังกลาวจะตองไดรับการคุมครองสิทธิแรงงานโดยเทาเทียม เวนแตในกรณีที่มี
                              ความจําเปนอยางยิ่งและไมอาจหลีกเลี่ยงไดที่ไมสามารถจางงานแรงงานที่อาศัยอยูรวมกับ

                              เชื้อเอชไอวี ในการประกอบอาชีพนั้น
                          2.  หลักสิทธิสวนบุคคล
                          3.  การรักษาความลับ
                       ในประเด็นการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ พบวา แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการ

               ทํางานและขอแนะดวยเอชไอวีและเอดสในโลกแหงการทํางาน ฉบับที่ 200 ในป พ.ศ. 2553 ถือเปนเอกสารที่
               ใหแนวทางแกสมาชิกไตรภาคีขององคการแรงงงานระหวางประเทศ (รัฐบาล ตัวแทนนายจางและตัวแทน
               สหภาพ) เพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายรัฐรวมตลอดถึงการพัฒนากฎหมายวาดวยเรื่องโรค
               เอดสและโลกแหงการทํางาน ซึ่งเสนอใหรัฐสมาชิกพิจารณากําหนดนโยบายในเรื่องดังกลาว โดยใหความสําคัญ

               กับประเด็นดังตอไปนี้
                       -  เรื่องโรคเอดสและการปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีจะตองไดรับการยอมรับและจัดเปน
                          ประเด็นสําคัญพื้นฐานในโลกแหงการทํางาน
                       -  นิยามของแรงงาน ซึ่งจะตองมีความหมายอยางกวางและครอบคลุมถึง 1) แรงงานทุกคน ไมวาจะ

                          มีสัญชาติใด ทุกสาขาชีพ และทุกภาคการผลิต  (ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมตลอดถึงแรงงานในภาค
                          เศรษฐกิจนอกระบบ) ไมวาจะมีการทํางานในรูปแบบใด  2)  แรงงานฝกหัด นักศึกษาฝกงาน
                          แรงงานอาสาสมัคร 3) คนหางานและผูสมัครงาน 4) แรงงานซึ่งถูกปลดออกหรือถูกพักงาน ซึ่ง

                          นิยามความหมายนี้ จะสามารถครอบคลุมแรงงานทุกคนโดยเสมอภาค
                       -  การยอมรับในหลักการสิทธิมนุษยชน เสรีภาพขั้นพื้นฐาน หลักความเสมอภาคทางเพศ หลักสิทธิ
                          สวนบุคคล
                       -  จะตองไมมีการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพหรือการตีตรากลุมแรงงาน (ตามนิยามที่กลาวมา

                          ขางตน) รวมตลอดถึงการเลิกจางเนื่องจากเปนแรงงงานที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี
                       -  แรงงานจะตองไมถูกบังคับใหมีการตรวจหาเชื้อเอชไอวี หรือเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพ
                       -  การสงเสริมใหมีการเจรจาทางสังคมกับสมาชิกไตรภาคี องคกรภาคประชาสังคม และกลุมผูมีสวน

                          ไดสวนเสียในประเด็นเรื่องโรคเอดส รวมตลอดถึงสมาชิกในครอบครัว
                       ในระดับประเทศ จากการศึกษาพบวา ในประเทศที่ทําการศึกษานั้นมีกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิ
               มนุษยชนและการไมเลือกปฏิบัติตอกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี ซึ่งหลักการดังกลาวนอกจากจะรับรองใน
               รัฐธรรมนูญของแตละประเทศแลว ยังมีกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ และแนวนโยบายที่รองรับหลักการ
               ดังกลาว อยางไรก็ดี รูปแบบของการบัญญัติกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนและการไมเลือกปฏิบัติตอกลุม

               ผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีนั้นอาจบัญญัติภายใตพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของหลายฉบับ อาทิ พระราชบัญญัติการ
               ขจัดการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ ซึ่งสนับสนุนวาการเปนผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีนั้น ถือเปนความ
               แตกตางอันเนื่องมาจากสภาวะทางสุขภาพ และกฎหมายใหถือวา ความแตกตางดังกลาวนั้นเปนสวนหนึ่งของ

               ความพิการดวย และในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติและอนุบัญญัติที่เกี่ยวของอื่นๆ เชน ในประเทศเครือรัฐ
               ออสเตรเลีย และประเทศสหราชอาณาจักร หรือบัญญัติในลักษณะพระราชบัญญัติเฉพาะดาน เชน ในประเทศ
               สาธารณรัฐฟลิปปนส
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64