Page 100 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 100

78


                       -  ใหความสําคัญกับรูปแบบของกลไกการรองทุกข วิธีการเยียวยาและลักษณะขององคกรที่
                          ทําหนาที่รับเรื่องราวการรองทุกขและติดตามประเมินผลและการรายงาน

                          สําหรับบทบัญญัติเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพนั้น
                       -  สงเสริมบทบาทของนายจาง องคกรลูกจางและองคกรภาคประชาสังคมเพื่อสงเสริมการคุมครอง
                          สิทธิของกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีทั้งในระหวางการจัดหางาน การสมัครงานและการจาง
                          งาน

                       -  มีบทลงโทษในกรณีการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ การละเมิดสิทธิสวนบุคคล และการ
                          เปดเผยขอมูลลับตางๆ ที่มีความชัดเจนและเพียงพอ ทั้งบทลงโทษทางอาญาและบทลงโทษทาง
                          แพงเพื่อปองกันการเลือกปฏิบัติ

                       -  สงเสริมการคุมครองสิทธิของกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี ในรูปแบบของการลดหยอนอัตราภาษี
                          หรือการยกเวนภาษี หรือการสนับสนุนทางดานตัวเงิน หรือโครงการความรับผิดชอบตอสังคมตอ
                          สถานประกอบการ นายจางที่มีบทบาทในการสงเสริมการคุมครองสิทธิของกลุมอยูรวมกับเชื้อ
                          เอชไอวีถือเปนประเด็นที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการบัญญัติกฎหมาย


                   (2) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผลักดันทางออมโดยสนับสนุนหรือดําเนินการรวมกับหนวยงาน
                       อื่นที่ดําเนินการอยูแลว เชน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายและองคกรเครือขาย เครือขายคนพิการ
                       โดยกําหนดใหมีเนื้อหาที่ครอบคลุมการขจัดการเลือกปฏิบัติตอกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี และผูที่

                       ไดรับผลกระทบจากเชื้อเอชไอวีดวย โดยมีแนวทางเดียวกับขอ (1)


                       5.2.2 ขอเสนอแนะแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมในการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพ
                       ของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยใชมาตรการอื่นๆ

                       จากผลการศึกษาสถานการณการเลือกปฏิบัติ และความพยายามในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติ
               ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในสวนที่ไมใชมาตรการทางกฎหมาย พบวา แมจะมีความริเริ่มในการ

               คุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีดังที่ปรากฏใน แนวปฏิบัติการปองกันและจัดการดาน
               เอดสในสถานประกอบกิจการ ซึ่งกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานประกาศใชในป พ.ศ. 2548  (ตอมา
               ปรับปรุงแกไขในป 2554) และแนวปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสในสถานที่
               ทํางาน ซึ่ง คช.ปอ. ประกาศใชในป พ.ศ. 2552 แตก็ดูเหมือนวาแนวปฏิบัติทั้งสองฉบับ จะไมสามารถบังคับ

               ใชไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ยังพบวามีสถานประกอบการจํานวนหนึ่งยังมีนโยบายเลือกปฏิบัติตอการ
               ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อในหลายประเภทกิจการ และในสวน คช.ปอ. ซึ่งแมจะเปนกลไกความรวมมือ
               ระหวางภาคราชการและภาคประชาสังคม มีการจัดทํายุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาเอดสชาติ พ.ศ.
               2555-2559 ที่มีเปาหมายหนึ่งในการลดปญหาการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี แต เนื่องจากขาดทรัพยากร

               สนับสนุนอยางตอเนื่อง จึงเปนอุปสรรคในการดําเนินงานลดปญหาการเลือกปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ
                       ในขณะที่การเขาถึงกลไกภาครัฐ เปนเรื่องยาก และนอยครั้งที่ทําใหเกิดการแกไขปญหาในทางปฏิบัติ
               กลไกที่ผูติดเชื้อสามารถเขาถึงไดมากที่สุด และสามารถผลักดันใหเกิดการแกไขปญหาเฉพาะหนาไดมากที่สุด

               จึงกลายเปนกลไกภาคประชาสังคม อยางไรก็ดี กลไกภาคประชาสังคม ที่เนนการทํางานลดการเลือกปฏิบัติ
               โดยใชวิธีการเสริมสรางความเขาใจกับผูประกอบการ ก็มีขอจํากัดในการดําเนินงานเนื่องจากมีทรัพยากรและ
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105