Page 102 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 102
80
อาชีพ หรือเรื่องการศึกษาซึ่งมีอิทธิพลตอการประกอบอาชีพในอนาคต เพื่อใหผูติดเชื้อเอชไอวีเขาถึง
การคุมครองสิทธิมนุษยชนอยางรวดเร็ว และในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ไม
สามารถแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อได ใหพิจารณาเสนอเรื่องไปยัง
177
กลไกในกระบวนการยุติธรรมตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ไดแก ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 257
(3)) หรือศาลปกครอง (มาตรา 257 (4)) ในกรณีที่เปนการละเมิดสิทธิจากภาครัฐ เปนโจทกฟองคดีตอ
ศาลยุติธรรมในกรณีที่เปนการละเมิดสิทธิในภาคเอกชน (มาตรา 257 (5)) หรือเปนโจทกรวมฟองคดี
กับผูเสียหาย เพื่อสรางบรรทัดฐานการไมเลือกปฏิบัติและการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของ
ผูติดเชื้อเอชไอวีในอนาคต
(4) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรเสนอแนะใหรัฐบาล โดยกระทรวงแรงงานใหความสําคัญ
กับประเด็นการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี มีการรณรงคใหสาธารณชน
เห็นความสําคัญของปญหาการเลือกปฏิบัติมากขึ้น ตลอดจนผลักดันใหมาตรการปองกันการเลือก
ปฏิบัติที่มีอยูเกิดผลในทางปฏิบัติ โดยเฉพาะแนวปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและบริหาร
จัดการดานเอดสในสถานที่ทํางาน ของ คช.ปอ. และแนวปฏิบัติการปองกันและจัดการดานเอดสใน
สถานประกอบกิจการ ของกระทรวงแรงงาน ทั้งนี้เปนไปตามบทบัญญัติเรื่องการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 28 (2) แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ.
178
2542 ตลอดจนควรสงเสริมใหมีการเจรจาแบบไตรภาคีเพื่อหาขอตกลงรวมและแนวปฏิบัติเพื่อการ
ขจัดการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ และการสงเสริมการคุมครองสิทธิกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ใน
สวนของนโยบายการจางงานของสถานประกอบการตางๆ ทั้งนี้ เปนไปตามอํานาจหนาที่ตาม
179
บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2550 มาตรา 257 (7) โดยให
ความสําคัญกับประเด็นดังตอไปนี้
- มาตรการปองกันการแพรระบาดของเชื้อ เชน การใหขอมูลความรูที่ถูกตองตอแรงงาน
- มาตรการคุมครองการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพและการละเมิดสิทธิ เชน การปกปด
ขอมูลสวนบุคคล การจัดบริการที่จําเปนตอกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี การจัดที่พักและ
รูปแบบการทํางานที่เหมาะสม
- มาตรการเยียวยาและฟนฟู เชน คาชดเชย การเกษียณกอนเวลา เปนตน
177
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257
“(2) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา บทบัญญัติแหงกฎหมายใด
กระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา
ดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(3) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใด
ในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ทั้งนี้ตาม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(4) ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เมื่อไดรับการรองขอจากผูเสียหายและเปนกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหาการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวม ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
178
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 28 (2) “ในการกําหนดมาตรการการแกไขปญหา
ละเมิดสิทธิมนุษยชนตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจกําหนดใหบุคคลหรือหนวยงานดําเนินการตามอํานาจหนาที่ดวยวิธีใดที่
เห็นเหมาะสม เพื่อปองกันมิใหมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในลักษณะทํานองเดียวกันอีกได”
179 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 (7) “สงเสริมความรวมมือและการประสานงานหนวย
ราชการ องคการเอกชน และองคการอื่นในดานสิทธิมนุษยชน”