Page 94 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 94

85


                                 (1) เปนการเอาเปรียบผูบริโภค                      คิดเปนรอยละ 15.58 (16)

                                 (2) ไมทําใหเกิดความสะดวกสบาย                     คิดเปนรอยละ 9.10

                                 (3) เปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพในการประกอบธุรกิจ     คิดเปนรอยละ 27.28

                                 (4) จํากัดความตองการ และความพึงพอใจของผูบริโภค    คิดเปนรอยละ 10.38

                                 (5) ไมทําใหเกิดการพัฒนาและการกระจายความเจริญสูชุมชน คิดเปนรอยละ 22.08

                                 (6) ปดกั้นทางเลือกในการบริโภคสินคาที่หลากหลาย    คิดเปนรอยละ 15.58 (16)

                               23) ทานเห็นดวยหรือไมวากับการที่รัฐจะมีมาตรการควบคุมธุรกิจคาปลีกขนาดใหญมิให
                  ใชรูปแบบการคาที่ต่ํากวาทุน  พบวา

                                 - เห็นดวย           จํานวน 349 คน                คิดเปนรอยละ 42.50 (43)

                                 - ไมเห็นดวย        จํานวน 164 คน                คิดเปนรอยละ 20.00

                                 - ไมแนใจ           จํานวน 308 คน                คิดเปนรอยละ 37.50 (38)

                               24) จากขอ (23) โปรดระบุเหตุผล พบวา

                                 - เห็นดวย           จํานวน 614 คน                คิดเปนรอยละ 74.80 (75)

                                 - ไมเห็นดวย        จํานวน 207 คน                คิดเปนรอยละ 25.20

                                 เห็นดวย  จํานวน 614 คน คิดเปนรอยละ 74.80 (75) จําแนกตามประเด็นเหตุผล ดังนี้

                                (1) เพื่อสรางความเปนธรรมในการประกอบธุรกิจ        คิดเปนรอยละ 23.16

                                (2) ธุรกิจขนาดเล็ก (เชน โชหวย) ไดรับผลกระทบ     คิดเปนรอยละ 26.85 (27)

                                (3) เพื่อปองกันและควบคุมสินคาใหมีคุณภาพ         คิดเปนรอยละ 5.26

                                (4) รานคาปลีกขนาดยอยสามารถขายสินคาได          คิดเปนรอยละ 17.89 (18)

                                (5) เปนมาตรการในการตรึงราคาสินคาใหเหมาะสม       คิดเปนรอยละ 12.63 (13)

                                (6) เปนมาตรการในการพยุงสินคาใหมีการแขงขันกันได   คิดเปนรอยละ 14.21

                                ไมเห็นดวย  จํานวน 207 คน คิดเปนรอยละ 25.20  จําแนกตามประเด็นเหตุผล ดังนี้

                                (1) เปนทางเลือกของผูบริโภคที่จะไดซื้อสินคาในราคาที่ถูกลง รัฐไมควรแทรกแซง
                                                                                   คิดเปนรอยละ 50.63 (51)

                                (2) เปนกลยุทธทางการตลาด                          คิดเปนรอยละ 10.13

                                (3) ทําใหประชาชนบริโภคสินคาในราคาที่สูงขึ้น      คิดเปนรอยละ 24.05

                                (4) เปนมาตรการที่ผิดหลักการคาแบบเสรีจํากัดสิทธิของกิจการนั้นๆ

                                                                                   คิดเปนรอยละ 15.19

                               25) ทานเห็นดวยหรือไมกับการมีมาตรการปองกันมิใหธุรกิจคาปลีกชุมชนทองถิ่น
                  (โชหวย) ไดรับผลกระทบจากการแขงขันกับธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ พบวา
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99