Page 53 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 53

ดินถล่มลงมาในลำานำ้า    และนำ้าในลำาธารก็ดื่มไม่ได้อีก  หากินเลย...  เราต้องการรู้ว่า  [โครงการนี้]  จะสร้างได้
               ต่อไป” – ชายชาวสวน หมู่บ้านกาโลนท่า             สำาเร็จหรือไม่    เราต้องการรู้เพื่อความแน่นอน    ถ้า
            •  “หลังฤดูทำานาเสร็จสิ้น  เราจะปลูกพืชผักต่าง  ๆ  บนที่  โครงการจะไม่ดำาเนินต่อแล้ว  เราจะได้ปลูกต้นไม้ใน
               นาของเรา  เราได้ทั้งอาหารและเงินจากพวกนี้  ถ้าเรา  สวนอีกครั้ง  ถ้าโครงการไม่เกิดขึ้นเราจะได้เตรียมกล้า
               ต้องย้ายไป  เราจะปลูกผักอะไรในที่นั่นได้บ้าง  แม้แต่  ไม้สำาหรับสวน นี่เป็นเหตุผลที่เราอยากจะรู้ในทันที” –
               ใบกระเจี๊ยบยังหายากเลย” – ชายชาวสวนและเจ้าของ   ชายชาวสวน หมู่บ้านกามองชอง
               ร้านค้า หมู่บ้านปาราดัต
            •   “ในอดีตทุกอย่างเคยอยู่อย่างธรรมชาติ  ทั้งถั่วฟาลาห์    การจัดการสำาหรับการอพยพโยกย้าย
                                                      17
               เผือก  และลูกเนียงเกิดขึ้นเองตามฤดูกาล    เราเข้าไป  ชาวบ้านให้ข้อมูลว่า  แม้บริษัทได้ให้คํามั่นสัญญาไว้  แต่
               หาในป่าและกินของพวกนี้ เราก็อยู่ได้สบาย ๆ  ตอนนี้  พวกเขากลับเห็นว่ามีความช่วยเหลือเพียงน้อยนิดที่พวก
               ป่าเขาหายไปหมดแล้ว  และที่นายังถูกยึดไปอีก... ชาวนา  เขาหรือชุมชนใกล้เคียงอื่น  ๆ  ได้รับจากโครงการ    การ
               ก็รู้เพียงแค่การทำานา  แล้วเราจะอยู่รอดได้อย่างไร”  –   จัดการเกี่ยวกับการอพยพโยกย้ายเป็นเนื้อหาสําคัญที่นํา
               ชาวนาและชาวสวนชายสูงอายุ หมู่บ้านปาราดัต     เสนออยู่ในศูนย์เยี่ยมชมโครงการของบริษัท  อิตาเลียนไทยฯ
            •   “ในอดีตเราเคยชินกับการไปหากุ้งหอยปูปลาใน    มีการจัดแสดงนิทรรศการต่าง ๆ รวมถึงแบบจําลองของ
               ธรรมชาติ  ตอนนี้หลายอย่างได้เปลี่ยนไปแล้ว  วิถีการ  บ้านรองรับผู้อพยพ 3 ประเภท ที่ออกแบบสําหรับครอบครัว
               ดำารงชีวิตของเราได้รับผลกระทบ”  –  ชายว่างงานสูง  ที่จะต้องถูกอพยพออกจากพื้นที่โครงการ
               อายุ หมู่บ้านมูดู                                    ปัจจุบัน บ้านจํานวน 480 หลังได้สร้างเสร็จแล้ว
            •   “เมื่อมีป่าอยู่รอบ ๆ เราหาเลี้ยงครอบครัวโดยการผลิต  ในพื้นที่ของหมู่บ้านบาวาร์  อย่างไรก็ตาม  บ้านส่วนใหญ่
               ถ่านขาย เรายังใช้ถ่านสำาหรับทำาอาหารในบ้าน  เดี๋ยว  ยังคงว่างเปล่าไร้ผู้อยู่อาศัย เนื่องจากชาวบ้านยังปฏิเสธที่  บทที่ 2
               นี้ป่าไม้หายไปหมดแล้ว เราไม่สามารถทำาอะไรได้อีก”   จะย้ายเข้าไปอยู่  ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบ้านที่เพิ่งสร้าง
               – หญิงชาวสวน หมู่บ้านเว็ตชอง                 ขึ้นใหม่ภายหลังเหตุการณ์พายุ  เช่น  หลังคาพังลงมา
            •   “งานหายากขึ้นเรื่อย ๆ  เงินเป็นสิ่งที่จำาเป็นมากขึ้นเพราะ  ทําให้ชาวบ้านไม่เชื่อมั่นในคุณภาพของการก่อสร้าง ผู้เข้า
               ไม่มีป่าอีกแล้ว” – ชายหนุ่มว่างงาน หมู่บ้านเว็ตชอง   ร่วมการสนทนากลุ่มที่หมู่บ้านมูดูได้เรียกร้องให้มีการรับ
                                                            ประกันว่า บ้านเหล่านั้นจะปลอดภัยตลอดระยะเวลา 10-
            ในสถานการณ์เช่นนี้ ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับอนาคตของ  20  ปี  แต่ปรากฏว่า  หลังจากการตรวจสอบบ้านโดยกรม
            โครงการและการชะลอการปฏิบัติการของโครงการได้เพิ่ม  การเคหะ กลับไม่มีการรับประกันใด ๆ ขณะนี้มีเพียงหนึ่ง
            ความเครียดให้กับชาวบ้านในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ  การ  ครอบครัวเท่านั้นที่อาศัยอยู่อย่างยากลําบากในพื้นที่
            ขาดข้อมูลและความล้มเหลวในการตอบคําถามต่อผู้ได้  รองรับผู้อพยพที่บาวาร์  ดังจะอธิบายในกรณีศึกษาที่  1
            รับผลกระทบได้ทอดทิ้งให้พวกเขาไม่สามารถเตรียม    ต่อไป
            รับมือกับอนาคต  และตัดสินใจไม่ได้ว่าจะทําอย่างไรดีใน     หนึ่งในข้อกังวลของชาวบ้านที่ได้รับการพูดถึง
            อนาคต ยกตัวอย่างเช่น                            บ่อยที่สุดก็คือ  พื้นที่รองรับผู้อพยพมีที่ดินทําเกษตรไม่เพียง
                                                            พอที่จะจัดสรรให้กับทุกครอบครัวที่จะย้ายเข้ามา  ดังที่ได้
            •   “ถ้าโครงการจะเกิดขึ้นแน่ ๆ  คนที่ไม่มีงานทำาก็จะสามารถ  กล่าวไว้ข้างต้น ราคาที่ดินในพื้นที่นั้นสูงกว่าอัตราค่าชดเชย
               เข้ามาหางานทำาและมีรายได้  ตอนนี้ไม่มีใครจ้างชาวนา  ที่ชาวบ้านได้รับหลายเท่า
               ที่รับจ้างรายวันได้ พวกเราชาวบ้านไม่มีอะไรจะทำามา     เกษตรกรที่ต้องถูกย้ายมายังชุมชนที่รองรับผู้



            17  พืชตระกูลผลไม้เปลือกแข็งท้องถิ่นชนิดหนึ่ง มีรสเผ็ด ใช้สําหรับเคี้ยวเล่นและประกอบอาหาร


                                                                                                        53
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58