Page 51 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 51

เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่เก็บออมเงินค่าชดเชยที่ได้มา  จากการ  งานทำา]” – ชายชาวนา หมู่บ้านมะยินจี
            สนทนากลุ่มชี้ให้เห็นว่า อัตราค่าชดเชยที่ตํ่า ดังที่ได้กล่าว
            ไว้ก่อนหน้า  เป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ชาวบ้านส่วนใหญ่     ชาวบ้านจํานวนมากระบุว่า พวกเขาไม่มั่นใจว่า
            ไม่สามารถนําเงินค่าชดเชยไปซื้อที่ดินใหม่ได้      เงินค่าชดเชยที่ได้รับจะสามารถนํามาใช้เพื่อฟื้นฟูวิถีการ
                    การนําเงินไปชดใช้หนี้เป็นรายจ่ายที่พบมาก  ดํารงชีพ  เพราะพวกเขาไม่เคยมีประสบการณ์และทักษะ
            ที่สุด  โดย  39  เปอร์เซ็นต์ของผู้ได้รับค่าชดเชยระบุว่าเป็น  ในการจัดการกับเงินจํานวนมากเช่นนี้    เจ้าหน้าที่รัฐและ
            แนวทางแรกที่พวกเขานําเงินค่าชดเชยไปใช้ ประสบการณ์  บริษัทไม่ได้ให้การสนับสนุนการพัฒนาทักษะความรู้
            กรณีการถูกอพยพโยกย้ายในประเทศเมียนมาร์และส่วน    ความเข้าใจในการจัดการด้านการเงินเลย
            อื่น  ๆ  ของภูมิภาคชี้ให้ถึงความเชื่อมโยงของการจ่ายค่า
            ชดเชยที่ล่าช้าและไม่เป็นระบบ กับการพอกพูนหนี้สินของ  “ไม่ใช่แค่เงินค่าชดเชยไม่เพียงพอเท่านั้น  เราเองก็ไม่รู้
                                                                                    ว่าจะจัดการกับเงิน
                                                                                    อย่างไร    แม้ว่าเงินก้อนนี้
                                                                                    ควรนำาไปฝากธนาคาร
                                                                                    เราก็เพิ่งได้ยินคำาว่า
                                                                                    ‘ธนาคาร’ เป็นครั้งแรก  เรา
                                                                                    ไม่รู้หรอกว่ามันทำางาน
                                                                                    อย่างไร  และเราไม่รู้เลย  บทที่ 2
                                                                                    ว่าจะจัดการกับเงินค่า
                                                                                    ชดเชยนี้อย่างไร”  –  ชาว
                                                                                    บ้าน หมู่บ้านตะบิวชอง



                                                                   แผนภาพที่ 2.19   “เงินค่าชดเชยที่ได้รับมา
                                                                                    ส่วนใหญ่เราเอาไปบริจาค
                                                                                    และบวชพระให้กับลูกชาย
            ชาวบ้านผู้ได้รับผลกระทบ                            และก็ใช้จ่ายเล็ก ๆ น้อย ๆ  ฉันไม่รู้ว่าการใช้เงินที่ดีต้อง
                    ตัวอย่างในบางกรณี  ชาวบ้านใช้เงินค่าชดเชย  ทำาอย่างไร” – หญิงชาวนาและชาวสวน หมู่บ้านปาราดัต
            สําหรับซื้อสิ่งของจําเป็น เช่น อาหารและเครื่องนุ่งห่ม ใน
            ขณะที่ยังไม่มีรายได้ประจําที่มาทดแทนรายได้ที่หายไป
            เช่น  ในหมู่บ้านมิตตา  ผู้ร่วมการสนทนากลุ่มได้ให้ข้อมูล
            ว่า  เงินค่าชดเชยเพียงพอสําหรับทดแทนรายได้ที่สูญเสีย
            ไปในช่วงระหว่างนี้เท่านั้น  ชาวบ้านบางคนให้ข้อมูลว่าได้
            ใช้เงินส่วนใหญ่หรือทั้งหมดเพื่อซื้อข้าวของที่จําเป็น


               “ตอนนี้เงินเหลือแทบจะไม่ถึงครึ่งแล้ว    หลังจากเงิน
               หมด  ชาวบ้านบางคนก็เดินทางไปเมืองไทย  [เพื่อหา



                                                                                                        51
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56