Page 52 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 52
การเตรียมการสำาหรับอนาคต
ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ที่ดินสําหรับการเกษตรถูกยึด ได้อีกต่อไป แล้วเรากินจะอะไร” – ชาวนาชาย หมู่บ้าน
เวนคืนเพื่อนําไปสร้างโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย มะยินจี
แต่ทว่าการเกษตรเป็นวิถีการดํารงชีพหลักของชาวบ้านที่ • “ตั้งแต่ทางนำ้าเปลี่ยน เราก็ไม่สามารถทำาเกษตรได้อีก
อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่โครงการ ในพื้นที่ที่ได้ปักปันเขตไป ต่อไป ที่นาต่าง ๆ อันตรธานไปหมดแล้ว หน่วยงาน
แล้วแต่ว่ายังไม่ได้ยึดเวนคืน ทางเจ้าหน้าที่รัฐได้ออกคํา [ไม่ได้ระบุชื่อ] บอกกับเราว่า พวกเขาจะทำาทางนำ้าให้
สั่งห้ามไม่ให้ชาวบ้านลงทุนและเพาะปลูกอะไรในที่ดิน เมื่อมี... [การก่อสร้าง] เขื่อน ผมถามพวกเขาว่าใคร
แม้ว่าที่ดินดังกล่าวยังอยู่ในกรรมสิทธิ์ของชาวบ้าน ใน ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ เขากลับตอบว่าไม่มีใครรับผิดชอบ
ขณะที่พื้นที่อื่น ๆ ที่ดินถูกทําลายเสียหายและไม่สามารถ ได้ มันอาจกลายเป็นความอ่อนด้อยของคนรุ่นหลัง หาก
ใช้เพาะปลูกได้ ซึ่งเป็นผลมาจากดินถล่มและการกีดขวาง เราไม่มีที่สำาหรับทำามาหาเลี้ยงชีพ” – ชาวนาชายสูงอายุ
ทางนํ้าจากกระบวนการก่อสร้างโครงการ ในขณะที่สภาพ หมู่บ้านปาราดัต
แวดล้อมค่อย ๆ ถูกทําลายลงไป ชาวบ้านก็เข้าถึงแหล่ง • “เพราะว่า [บริษัท] ได้กีดขวางทางนำ้าที่ต้นนำ้า ทำาให้
ทรัพยากรต่าง ๆ ได้น้อยลง ผิดจากเดิมที่เคยทํากินได้ง่าย เกิดดินถล่ม และเราก็ไม่สามารถใช้นำ้าได้ในช่วงที่นำ้า
และเมื่อเงินค่าชดเชยไม่เพียงพอสําหรับการสร้างความ ท่วม และเพราะการกีดขวางทางนำ้านี่เอง ทำาให้ไม่มี
มั่นคงในการดํารงชีวิตเพื่อทดแทนสิ่งที่สูญเสียไป ชาว ปลาในลำานำ้าอีกต่อไป ปลาเริ่มหายากขึ้น เมื่อก่อน
บ้านหลายครอบครัวแสดงความกังวลอย่างยิ่งเกี่ยวกับ รายได้จากการหาปลาของครอบครัวค่อนข้างดี แต่เดี๋ยว
อนาคต
มีเพียง 5
เปอร์เซ็นต์จากครัว
เรือนทั้งหมดที่มั่นใจ
ว่าพวกเขาเตรียมการ
สําหรับการอพยพ
โยกย้าย โดยเตรียม
ทางเลือกในการ
ประกอบอาชีพไว้ แผนภาพที่ 2.20
มีชาวบ้านน้อยมาก
(1 เปอร์เซ็นต์) ที่มั่นใจว่ารัฐบาลจะจัดการสร้างหลักประกัน นี้หลาย ๆ อย่างได้เปลี่ยนไปแล้ว อาชีพหาปลาแทบ
ให้พวกเขาได้มีวิถีชีวิตที่มั่นคงในอนาคต จะไม่มีอีกแล้ว ซำ้าราคาปลาก็แพงขึ้นอีก” – ชาวบ้าน
จากการสนทนากลุ่มในประเด็นการสูญเสีย หมู่บ้านปากอซอน
ที่ดิน ชาวบ้านกล่าวว่า การสูญเสียไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะ • “ต้นไม้ที่เราปลูกไว้ถูกรถแทร็กเตอร์ไถทำาลายไปหมด
ที่ดินที่ทําการเกษตร แต่ยังรวมถึงที่ดินอื่น ๆ และ มีกลุ่มชาวสวนที่เขายังไม่ได้เริ่มเก็บเกี่ยวพืชผลครั้ง
ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นทั้งแหล่งอาหารและแหล่งนํ้า แรกเลย พวกเขาถึงกับร้องไห้” – ชายเกษตรกรทําสวน
สําหรับชาวบ้าน ข้อความต่อไปนี้บอกเล่าชัดเจนถึงความ และนาข้าว หมู่บ้านมูดู
หวาดกลัวของชาวบ้านเกี่ยวกับวิถีการดํารงชีวิตทั้งใน • “เราสูญเสียที่ดินหลายแปลงเนื่องจากโครงการ พวก
ปัจจุบันและอนาคต เราส่วนมากไม่ได้รับค่าชดเชยจากการก่อสร้างถนน
เราสูญเสียทั้งที่พักอาศัยและพื้นที่เพาะปลูก เราไม่
• “ตอนนี้ที่นาที่เราได้พึ่งพามานานไม่สามารถปลูกข้าว สามารถจับปลาในลำาธารได้อีก ทั้งที่เคยจับได้บ่อยเพราะ
52