Page 49 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 49
• “การชดเชยนั้นกำาหนดราคาไม่เท่ากันกับพื้นที่อื่น ๆ ที่ ตรงนี้ ต้นไม้พวกนี้ปลูกก่อนที่บริษัทไทยจะเข้ามา ตอน
มีขนาดเท่ากัน โดยมีอัตราเพียง 30 เปอร์เซ็นต์ของค่า นี้ก็ 8 ปีมาแล้ว แต่พวกเขากลับจ่ายค่าชดเชยให้กับ
ชดเชยต่อเอเคอร์ที่ควรจะได้รับ” – ชาวนารับจ้าง หมู่บ้าน ต้นไม้เพียงชนิดเดียว” หนุ่มชาวสวนจากหมู่บ้านเว็ต
บาวาร์ ชอง กล่าว
• “การจัดสรรค่าชดเชยนั้นถูกชี้นำาด้วยอคติ ราคาของไร่ • ชาวสวนจากหมู่บ้านเว็ตชองอีกคนหนึ่งได้กล่าวว่า
นาคุณภาพชั้นหนึ่งไม่ได้สะท้อนถึงมูลค่าของพืชผล ต้นมะม่วงและต้นหมากไม่ได้ถูกรวมไว้ในการคํานวณ
เศรษฐกิจ หรือราคาที่ได้ซื้อมาแต่เดิมเลยแม้แต่น้อย” มีการคํานวณเพียงต้นยางพาราเท่านั้น “[อย่างไรก็ตาม]
– ชาวบ้าน หมู่บ้านเลชอง ต้นไม้ทุกชนิดทำาเงินทั้งนั้น มันสร้างรายได้ซึ่งเราต้อง
• กลุ่มชาวนาจากหมู่บ้านเลชองกล่าวว่า “บริษัท พึ่งพาในการเลี้ยงชีพ”
อิตาเลียนไทยฯ ได้สัญญาว่าจะให้ค่าชดเชยในอัตรา
ที่สมนำ้าสมเนื้อกับคุณภาพของที่ดินที่ได้สำารวจไป ไม่มีก�รชดเชยแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจ�กกิจกรรม
และถ้าหากที่ดินของพวกเขาได้รับการชดเชยอย่าง ก�รดำ�เนินง�นต่�ง ๆ โครงก�ร
เหมาะสม พวกเขาก็พอใจที่จะไปซื้อที่ดินทำาสวนใหม่ • ชาวนาจากหมู่บ้านมะยินจีได้บรรยายถึงสถานการณ์
นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ” แต่ว่าชาวบ้านกลุ่มนี้กล่าว ที่ที่นาของเขาเสียหายจากนํ้าท่วมเนื่องจากการพัง
ว่า “พวกเขาไม่เห็นว่าเงินที่ทางบริษัทอิตาเลียนไทย ทลายของเนินเขาทางด้านหลังของถนนซึ่งอยู่ใกล้กับ
เสนอมาจะถูกต้องตามกฎหมาย เนื่องจากมันไม่เพียง ที่นาของเขา ซึ่งเป็นผลมาจากการดําเนินงานของโครงการ
พอ และมีการจ่ายล่วงหน้าให้กับชาวบ้านเพียงบางคน “หากพิจารณาที่นาด้วย มันก็ประมาณ 200 เอเคอร์
เท่านั้น” แต่ไม่มีการจ่ายค่าชดเชยสำาหรับที่นานั่นเลยแม้แต่
• กลุ่มชาวนาจากหมู่บ้านซินปิวตายได้ให้ข้อมูลว่า พวก น้อย” บทที่ 2
เขาไม่ได้รับเงินค่าชดเชยเนื่องจาก “เราไม่มี ‘ใบอนุญาต • ชาวบ้านจากหมู่บ้านเลชองยังกล่าวอีกว่า ค่าชดเชย
ใช้ที่ดิน’ อยู่ในมือ” ทั้งนี้ เพราะว่าพวกเขาไม่มีเอกสาร ควรจะพิจารณารวมถึงทั้งที่ทํากิน ที่สวน และวิถีการ
ทางการที่แสดงสิทธิในที่ดิน ดํารงชีพของชาวบ้านที่ได้รับความเสียหายจากการ
ดําเนินงานของโครงการ และผลที่เกิดขึ้นตามมาด้วย
ก�รคำ�นวณค่�ชดเชยไม่ได้พิจ�รณ�ถึงคว�มหล�ก (ไม่ใช่พิจารณาเพียงแต่ตัวที่ดินที่ถูกยึดไปเท่านั้น)
หล�ยของวิถีก�รดำ�รงชีพของช�วบ้�นที่จะต้องถูก
โยกย้�ย
• ค่าชดเชยนั้นให้เพียงแค่ค่าต้นไม้ที่อยู่บนที่ดิน แต่ไม่
ได้ให้สําหรับที่ดินและมูลค่าที่ที่ดินมีให้ ยกตัวอย่าง
เช่น ให้ร่มเงากับปศุสัตว์ “เราปลูกต้นมะม่วงไว้เพื่อ
เป็นร่มเงาสำาหรับการเลี้ยงปศุสัตว์ ถึงแม้ว่ามีที่ดิน 10
เอเคอร์ แต่เราก็ได้ค่าชดเชยเพียง 1,000,000 จั๊ต
[30,000 บาท] นั่นเพราะเราปลูกต้นมะม่วงเพียง 10
ต้นเท่านั้น” ชาวบ้านจากหมู่บ้านมูดู กล่าว
• บนที่ดินที่ปลูกพืชและต้นไม้หลากชนิด “ผมปลูกต้นไม้
กว่า 900 ต้น ผมได้รับค่าชดเชยจากต้นไม้เพียงชนิด
เดียวเท่านั้น ไม่ต้นยางพาราก็ต้นมะม่วง ผมไม่พอใจ
49