Page 46 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 46
นี่คือคำ�ให้ก�รของช�วบ้�นเกี่ยวกับก�รจ่�ย หลังจากที่พวกเขาได้ยึดเอาที่ดินเราไปแล้ว” – ชาวนา
ค่�ชดเชยที่ล่�ช้� ชาย หมู่บ้านมะยินจี
• “[มันเป็นเวลากว่า 3 ปีแล้วที่พวกเขาก่อสร้างถนน] สําหรับชาวบ้านที่ได้รับค่าชดเชยเพียงบางส่วน
เราไม่ได้ทำารายได้อะไรเลยมา 3 ปีแล้ว แม้พวกเขา หรือเต็มจํานวน กระบวนการจ่ายเงินโดยส่วนใหญ่ทําโดย
สัญญาว่าจะจ่ายค่าชดเชยให้กับเรา แต่ก็ยังไม่ได้จ่าย เจ้าหน้าที่ของบริษัท (37 เปอร์เซ็นต์), เจ้าหน้าที่รัฐ (29
พวกเขามาถ่ายรูปสวนของเรา แต่ไม่ได้ให้อะไรกับเรา เปอร์เซ็นต์) หรือในที่ประชุมที่มีทั้งเจ้าหน้าที่รัฐ เจ้าหน้าที่
เรารอคอยอยู่ด้วยความหวัง แต่พวกเขาก็ไม่ได้ให้ บริษัท และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น (30 เปอร์เซ็นต์)
อะไรเราสักอย่างเลย” – หญิงชาวนา หมู่บ้านเต็งจี
• “ถ้า [เจ้าหน้าที่รัฐ] จะจ่ายเงินค่าชดเชยให้เฉพาะกับที่ เอกสารการรับเงิน
ทำากินใดที่เขากำาหนด พวกเขาก็ควรที่จะเข้าไปสำารวจ มีเพียง 9.3 เปอร์เซ็นต์ของผู้ให้ข้อมูลที่ได้รับค่าชดเชยที่
ที่แปลงนั้นเท่านั้น แต่นี่กลับมาสำารวจแปลงเกษตรทุก ๆ กล่าวว่าได้รับเอกสารอย่างเป็นทางการที่ระบุตัวเลขการ
แปลง และไม่อนุญาตให้เราเพาะปลูก [ในที่ดินที่ถูก คํานวณและการจ่ายค่าชดเชย การบันทึกการจ่ายค่าชดเชย
สำารวจแล้ว] อีก พวกเขาสามารถ [สำารวจ] ได้ ถ้าพวก ให้กับชาวบ้านนั้นไม่มีมาตรฐาน มากถึง 59 เปอร์เซ็นต์
เขาจ่ายค่าชดเชยสำาหรับทุก ๆ อย่างหลังจากที่เขาได้ ของผู้ที่ได้ค่าชดเชยระบุว่าไม่ได้รับเอกสารการจ่ายค่า
สำารวจไปแล้ว” – หญิงชาวสวน หมู่บ้านเว็ตชอง ชดเชยเลย และ 30 เปอร์เซ็นต์ระบุว่าได้รับเพียงเศษ
• “นี่มันก็ 3 ปีมาแล้วที่พวกเขามารังวัดและสำารวจที่นา กระดาษที่ไม่เป็นทางการ จากภาพ 2.16 แสดงให้เห็นว่า
ของเรา แต่เรายังไม่ได้รับค่าชดเชยอะไรเลย พวกเรา การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการจ่ายค่าชดเชยใช้รูปแบบที่
คับข้องใจกันมาก สามีของฉันต้องไปเฝ้าที่นาของเรา แตกต่างกัน บางรูปแบบค่อนข้างมีรายละเอียด เช่น
อยู่ตลอด เพราะกลัวว่าจะถูกรถแทร็กเตอร์แอบเข้ามา เอกสารจากหมู่บ้านเต็งจี (ทางด้านซ้าย) ระบุทั้งชื่อบริษัท
ถางทำาลาย พวกเขาไม่อนุญาตให้เราทำาอะไรในนั้น รายละเอียดจํานวน ชนิด และอายุของพืชเศรษฐกิจที่ได้
เลย หรือแม้แต่ถางป่าในพื้นที่ ตั้งแต่นั้นมา เราก็ไม่ได้ ค่าชดเชย พร้อมกับวันที่และลายเซ็นกํากับจากทั้งตัวแทน
เพาะปลูกอีกเลย ต้นไม้ยังมีขนาดเล็กอยู่ในตอนที่พวก ของบริษัท อิตาเลียนไทยฯ บริษัท แม็กซ์ เมียนมาร์ ชาว
เขามาสำารวจ แต่ตอนนี้มันใหญ่และสูงขึ้น เราสงสัย บ้านเจ้าของที่ดิน ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่เกษตรอําเภอ
ว่าพวกเขาจะให้ค่าชดเชยกับเราอย่างไร เราต้องการ และเจ้าหน้าที่ที่ดินอําเภอ ในขณะที่แบบอื่นเป็นกระดาษ
ให้พวกเขาชดเชยให้เราทันทีที่มีการสำารวจที่ดิน ไม่ใช่ แผ่นเล็ก ๆ ที่มีทั้งแบบที่พิมพ์หรือเขียนเป็นภาษาอังกฤษ
ทำาตามอำาเภอใจและไร้หลักการเช่นนี้ สิ่งที่พวกเขา และมีรายละเอียดระบุเพียงชื่อเจ้าของที่ดิน ขนาดพื้นที่
ทำาอยู่เป็นการกดขี่ข่มเหงชัดๆ” – ชาวบ้านหญิงหมู่บ้าน และยอดรวมของค่าชดเชย (มีหนึ่งตัวอย่างที่มีลายเซ็น
ยาลายง์ และวันที่เพิ่มเติมเข้ามา) และสันนิษฐานได้ว่าใบรับเงินที่
• “เราจะพอใจถ้าหากเราได้รับค่าชดเชยตามที่สัญญา ระบุยอดเงินค่าชดเชย (7.68 จั๊ต) ที่เป็นตัวพิมพ์นั้น เป็น
เอาไว้ พวกเขาบอกว่าจะทำาทุกอย่างตามความเหมาะ จํานวนที่ไม่ถูกต้อง ในตัวอย่างสุดท้าย เอกสารรับเงิน
สม จึงไม่มีใครเป็นกังวลในตอนนั้น ถ้าพวกเขาทำา เป็นเพียงเศษกระดาษที่มีลายมือเขียนเป็นภาษาพม่า
ตามที่พูด ก็ไม่มีอะไรที่เราจะว่าได้” – ชาวบ้านชาย บอกเพียงชื่อของเจ้าของที่ดินและยอดรวมของค่าชดเชย
หมู่บ้านเต็งจี เท่านั้น
• “เรายอมรับไม่ได้กับวิธีการที่คนไทยทำากับเราแบบนี้
เหมือนปล้นที่นาของเราไป มันแย่มากที่เราต้องตาม
ไปหาคนพวกนั้น เพื่อบอกพวกเขาให้ [ค่าชดเชย] เรา
46