Page 93 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 93
81
ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ส านักงานข้าหลวงใหญ่ฯ ได้พิมพ์หนังสือ
ชื่อ Human Rights Indicators: A Guide to Measurement and Implementation เพื่อเป็นคู่มือให้กับ
210
ประเทศต่างๆ ในการจัดท าตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนขึ้น
4.1.2 กระบวนการในการพัฒนาตัวชี้วัด
ในคู่มือการจัดท าตัวชี้วัด Human Rights Indicators: A Guide to Measurement and
Implementation ส านักงานข้าหลวงใหญ่ฯ ได้สรุปขั้นตอนที่ส าคัญประการแรกในการด าเนินการพัฒนา
ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนไว้ว่า ควรจะต้องพิจารณาว่าตัวชี้วัดที่จะพัฒนาขึ้นนั้นมีวัตถุประสงค์อย่างไร เช่น เพื่อ
ประเมินการปฏิบัติตามพันธกรณี หรือการประเมินผลการด าเนินงาน หรือเพื่อให้บรรลุเปูาหมายที่วางไว้
(benchmark)
ส าหรับตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นเพื่อประเมินการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศนั้นควรมี
ขั้นตอนที่จะต้องค านึงถึงดังนี้
วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด
พันธกรณี และสาระแห่งสิทธิ (characteristic features, obligation and international
normative framework) มีอย่างไร
กลไกระหว่างประเทศกลไกใดที่พิจารณาหรือประเมิน
จะใช้ข้อมูลประเภทใด หรือลักษณะตัวชี้วัดเช่นใด เช่น ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ หรือตัวชี้วัดเชิง
คุณภาพ ข้อมูลที่จะใช้จะเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือข้อมูลเชิงวินิจฉัย
ขั้นตอนส าคัญขั้นตอนหนึ่งในการพัฒนาตัวชี้วัดคือ ก าหนดสาระแห่งสิทธิ เพื่อให้เนื้อหาของ
สิทธิแต่ละด้านที่ก่อโดยพันธกรณีระหว่างประเทศ เพื่อให้คลอบคลุมมิติต่างๆ ของสิทธิมนุษยชนให้รอบด้าน
ที่สุด ซึ่งส านักงานข้าหลวงใหญ่ฯ ได้ให้ค าแนะน าในการก าหนดสาระแห่งสิทธิไว้ดังแผนภูมิข้างล่างนี้
210
แม้ว่าคู่มือนี้จะตีพิมพ์หลังจากโครงการศึกษานี้ได้ด าเนินการไปแล้วเกือบหนึ่งปี แต่อย่างไรก็ตาม คณะผู้ศึกษาได้ใช้
ประโยชน์จากรายงานการประชุม และกระบวนการในการพัฒนาตัวชี้วัดที่ส านักงานข้าหลวงใหญ่สหประชาชาติเผยแพร่
อย่างสม่ าเสมอ รวมทั้งรายงานการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการที่ทางส านักงานข้าหลวงใหญ่ได้จัดท าขึ้น