Page 98 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 98

ตารางที่ 5 : ตัวอย่าง ตัวชี้วัดสิทธิที่จะไม่ถูกทรมาน หรือการปฏิบัติที่ทารุณโหดร้าย
 ตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 5

    สาระแห่งสิทธิ
                              การใช้ก าลังของ
 บูรณภาพทางร่างกายและจิตใจของนักโทษหรือ  สภาพของห้องขัง   เจ้าหน้าที่ที่บังคับใช้  ความรุนแรงในชุมชนและความ
 ผู้ต้องขัง                                         รุนแรงในครอบครัว
                           กฎหมายภายนอกห้องขัง
 ตัวชี้วัด    สนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับสิทธิที่จะไม่ถูกกระท าการทรมาน หรือการปฏิบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้าย หรือไร้มนุษยธรรม ที่รัฐเปนนภาคี
 โครงสร้าง     วันที่มีผลใช้บังคับและขอบเขตการใช้บังคับของรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายแม่บทที่รับรองสิทธินี้
   วันที่มีผลใช้บังคับและขอบเขตการใช้บังคับของกฎหมายส าหรับการใช้ในทางปฏิบัติ รวมถึงประมวลแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้มนุษย์ทดลองทางการแพทย์
   ประเภทของการได้รับการรับรองสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับชาติ (type of accreditation of national human rights institution)  ตามกระบวนการของ
 คณะกรรมการระหว่างประเทศเพื่อการประสานงานสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   วันที่มีผลใช้บังคับของระเบียบหรือแนวปฏิบัติส าหรับเจ้าหน้าที่ที่บังคับใช้กฎหมาย รวมถึงกฎ ระเบียบเกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวน การ    วันที่มีผลใช้บังคับและ
 จับกุม การคุมขังและการจ าคุก                     ขอบเขตการใช้บังคับของ
   วันที่มีผลใช้บังคับ ขอบเขตการใช้บังคับของกฎหมายเกี่ยวข้องกับห้องขังที่อยู่ในการควบคุมของต ารวจ ศูนย์ควบคุมตัว หรือคุกที่ด าเนินการ  กฎหมายที่มีวัตถุประสงค์
 โดยหน่วยงานที่มีอ านาจสอบสวนที่เปนนอิสระ         เฉพาะเกี่ยวกับความรุนแรง
   ระยะเวลาที่กฎหมายให้อ านาจขังบุคคลโดยไม่ให้ติดต่อกับบุคคลอื่น (incommunicado detention)   ในชุมชน และความรุนแรงใน
   กรอบด้านเวลาและขอบเขตของนโยบายที่เกี่ยวกับสุขลักษณะของห้องขังและเรือนจ า   ครอบครัว
                                                 จ านวนศูนย์ส าหรับการ
                                                  เยียวยาฟื้นฟูเหยื่อของความ
                                                  รุนแรงในครอบครัว รวมถึง
                                                  เหยื่อที่เปนนเด็กและสตรี
 ตัวชี้วัด    สัดส่วนของค าร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิที่จะไม่ถูกกระท าการทรมาน หรือการปฏิบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้าย หรือไร้มนุษยธรรม ที่ได้มีการสืบสวนหรือด าเนินคดีโดยสถาบันสิทธิ
 กระบวนการ   มนุษยชนแห่งชาติ หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือกลไกอื่นๆ กับสัดส่วนของคดีดังกล่าวที่รัฐบาลได้ให้การตอบสนองโดยการด าเนินอย่างเปนนประสิทธิผล
   สัดส่วนค าร้องเรียนของผู้จัดท ารายงานพิเศษว่าด้วยการปูองกันการทรมานและผู้จัดท ารายงานพิเศษว่าด้วยความรุนแรงต่อสตรีกับการด าเนินการสนองตอบอย่างเปนนผลของ
 รัฐบาล ในช่วงระยะเวลารายงาน
   สัดส่วนของเจ้าพนักงานที่บังคับใช้กฎหมาย เช่น ต ารวจ ทหาร เจ้าหน้าที่สอบสวน เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ที่ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับหลักการการใช้ก าลังอย่างได้สัดส่วน





                                                                     85
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103