Page 95 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 95
83
ขั้นตอนที่ส าคัญอีกขั้นตอนหนึ่งคือ การก าหนดตัวชี้วัดให้สะท้อนพันธกรณีของรัฐ อันเป็นขั้นตอน
การออกแบบหรือก าหนดเกณฑ์ชี้ หรือวัดพันธะหน้าที่ของรัฐเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชี้พันธกรณีในการเคารพ
(obligation to respect) พันธกรณีในปกปูองคุ้มครอง (obligation to protect) และพันธกรณีในการท าให้
เป็นจริง (obligation to fulfil) ซึ่งมีขั้นตอนในการด าเนินการดังตารางข้างล่างนี้ (ดูแผนภูมิที่ 4 ประกอบ)
แผนภูมิที่ 4 การก าหนดเนื้อหาสาระของตัวชี้วัดให้สะท้อนพันธะหน้าที่สามด้านของรัฐ
ขั้นตอนที่ 1 ตัวชี้วัดโครงสร้าง
บ่งบอกช่องว่างของกฎหมายภายในเมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายสิทธิมนุษยชน
ระหว่างประเทศ และพันธกรณีของรัฐต่อสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนอย่างไร
บ่งบอกช่องว่างระหว่างนโยบายสาธารณะว่าในเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิกับแนวปฏิบัติที่
ดีที่สุดระหว่างประเทศหรือไม่
บ่งบอกแนวธรรมเนียมปฏิบัติและสถาบันภายในของรัฐที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับการน า
พันธกรณีระหว่างประเทศมาปรับใช้
ขั้นตอนที่ 2 ตัวชี้วัดกระบวนการ
ตัวชี้วัดกระบวนการควรจะต้อง ก าหนดกลุ่มเปูาหมายตัวอย่างเช่น
แสดงสาระส าคัญของเนื้อหาที่เกิด ชนกลุ่มน้อย กลุ่มชนพื้นเมืองดั้งเดิม
จากการผลักดันภายในประเทศ สตรี เพื่อให้มีความจ าเพาะเจาะจง
ตัวชี้วัดกระบวนการอาจต้องใช้ ปรับแต่งตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นให้
ตัวชี้วัดกระบวนการที่หลากหลายได้ สอดคล้องกับแผนงานในประเทศ
ตามความเหมาะสม เพื่อเกื้อหนุนการด าเนินงานด้านสิทธิ
มุ่งที่ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหาร มนุษยชน
จัดการ เพื่อใช้ก าหนดตัวชี้วัด มุ่งเน้นด้านกระบวนการจัดสรร
กระบวนการ งบประมาณทั้งในระดับประเทศและ
คิดหาตัวชี้วัดกระบวนการเพิ่มเติม ระดับท้องถิ่น เพื่อการด าเนินงานด้าน
เพื่อให้มีการปรับเข้ากับแนวปฏิบัติที่ สิทธิมนุษยชน
ดีที่สุด
ขั้นตอนที่ 3 ตัวชี้วัดผลลัพธ์
ตัวชี้วัดพิจารณาขึ้นมาอย่างมีมาตรฐาน สอดคล้องกัน มีความเป็นสากล แต่อาจจะ
ต้องปรับให้สอดคล้องกับกลุ่มประชากรเฉพาะ
ที่มา : Office of the High Commissioner for Human Rights, Human Rights Indicators: A Guide
to Measurement and Implementation, UN Publication No. HR/Pub/12/5, (New York
and Geneva, 2012), p. 87.